ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อณูชีววิทยา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
ใส่ลิงก์ข้ามภาษาด้วยบอต
Blacknut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 9:
==เทคนิคที่ใช้ในงานวิัจัยทางด้านอณูชีววิทยา==
===การโคลนนิ่ง===
{{โครง-ส่วน}}
===พีซีอาร์===
พีซีอาร์[[Polymerase chain reaction]] (PCR)ย่อมาจาก polymerase chain reaction เป็นขบวนการสังเคราะห์ชิ้นส่วนดีเอ็นเอในหลอดทดลอง ซึ่งขบวนการนี้เลียนแบบขบวนการสังเคราะห์ดีเอ็นเอในสิ่งมีชีวิต ผู้คิดค้นเทคนิคพีซีอาร์คือ Karry Mullis พีซีอาร์ประกอบไปด้วยขั้นตอนต่างๆดังต่อไปนี้<br/>
#การแยกสายดีเอ็นเอเกลียวคู่ออกจากกัน(Denaturation)ใช้อุณหภูมิ ประมาณ 94 องศาเซลเซียส เมื่อเริ่มต้นดีเอ็นเอแม่แบบ จะอยู่ในลักษณะที่เป็นเกลียวคู่ เมื่อเพิ่มอุณหภูมิถึงประมาณ 94 องศาเซลเซียส จะทำให้พันธะไฮโดรเจนระหว่างคู่เบสของดีเอ็นเอถูกทำลาย ทำให้เส้นดีเอ็นเอแยกออกจากกัน โดยขั้นตอนนี้จะแตกต่างจากการสังเคราะห์ดีเอ็นเอในธรรมชาติคือ ในสิ่งมีชีวิติจะมีเอนไซม์เฮลิเคส ช่วยในการแยกสายและคลายเกลียวดีเอ็นเอ
#การจับของไพร์เมอร์กับดีเอ็นเอแม่แบบ(Annealing)ใช้อุณหภูมิประมาณ 40-62 องศาเซลเซียส เมื่อแยกสายดีเอ็นเอออกจากกันแล้ว จะลดอุณหภูมิลงเหลือ 40-62 องศาเซลเซียส เพื่อให้ดีเอ็นเอสังเคราะห์ขนาดสั้นประมาณ 15-25 เบส ที่เรียกว่า ไพร์เมอร์เข้ามาจับบริเวณที่มีลำดับเบสคู่สมกัน ในการสั้งเคราะห์ดีเอ็นเอ ไม่สามารถที่จะเริ่มจากศูนย์ได้เนื่องจากเอ็นไซม์ดีเอ็นเอพอลิเมอร์เรส ต้องการปลาย-OH ทางด้าน 3'เพื่อนำ นิวคลีโอไทด์ตัวต่อมาต่อ ซึ่งในสิ่งมีชีวิตจะมีเอ็นไซม์ที่มีชื่อว่าไพรเมสเป็นตัวสร้างอาร์เอ็นเอไพรเมอร์ขึ้น
#การสังเคราะห์ดีเอ็นเอสายใหม่ต่อจากไพรเมอร์ (Extension) ใช้อุณหภูมิ ประมาณ 68-72 องศาเซลเซียส ในขั้นตอนนี้จะเป็นการสร้างสายดีเอ็นเอต่อจากไพร์เมอร์ โดยอุณหภูมิที่ใช้จะพอเหมาะกับ การทำงานของ Taq ดีเอ็นเอโพลีเมอเรส</br>
องค์ประกอบที่สำคัญในการทำ PCR ได้แก่
*ดีเอ็นเอแม่แบบ
*เอ็นไซม์ดีเอ็นเอโพลีเมอเรสชนิดทนความร้อน
*ดีออกซีนิวคลีโอไทด์ไตรฟอสเฟต
*บัฟเฟอร์สำหรับเอ็นไซม์ดีเอ็นเอโพลีเมอเรส
*แมกนีเซียมคลอไรด์</br>
เครื่องมือที่สำคัญในการทำพีซีอาร์ได้แก่ เครื่องเทอร์มอลไซเคลอร์
 
===อิเล็กโทรฟอร์เรซิส (Gel electrophoresis)===
{{โครง-ส่วน}}
===ซัทเธิร์น บล็อททิง และ นอร์เธิร์นบล็อททิง===
 
===ซัทเธิร์น บล็อททิง และ นอร์เธิร์นบล็อททิง (Southern blotting and Northern blotting)===
===เวสเทิร์น บล็อททิง===
{{โครง-ส่วน}}
 
===เวสเทิร์น บล็อททิง (Western blotting)===
{{โครง-ส่วน}}
 
==ดูเพิ่ม==