ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โคเบะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
แก้ไขการทับศัพท์
บรรทัด 38:
}}
 
'''โคเบะ''' ({{ญี่ปุ่น|神戸市|Kōbe-shi}}) เป็น[[เมืองเอก]]ของ[[จังหวัดเฮียวโงะ]] [[ประเทศญี่ปุ่น]] เป็นเมืองขนาดใหญ่อันดับที่ 5 และเป็นเมืองท่าที่สำคัญของญี่ปุ่น ตั้งอยู่ทางฝั่งใต้ของเกาะ[[ฮนชู]] ห่างจากเมือง[[โอซะซากะ]]ไปทางตะวันตกประมาณ 30 กิโลเมตร มีประชากรประมาณ 1.5 ล้านคนและเป็นส่วนหนึ่งของมหานคร[[เคฮันชิง]]
 
โคเบะปรากฏในหลักฐานลายลักษณ์อักษรเป็นครั้งแรกในพงศาวดาร[[นิฮงโชะกิ|นิฮงโชกิ]]ที่กล่าวถึงการก่อตั้ง[[ศาลเจ้าอิกุตะ|ศาลเจ้าอิกูตะ]]โดยพระจักรพรรดิจิงกูเมื่อ ค.ศ. 201<ref name="ikutahistory">[http://www.ikutajinja.or.jp/index1.html Ikuta Shrine official website] - "ประวัติของศาลเจ้าอิกุตะ" (ภาษาญี่ปุ่น)</ref> โคเบะไม่มีประวัติศาสตร์ที่สำคัญมากนัก แม้แต่เมื่อครั้งที่ท่าเรือโคเบะอยู่ภายใต้การควบคุมของ[[รัฐบาลเอโดะ|รัฐบาลโชกุนโทะกุงะวะโทกูงาวะ]]ในสมัย[[เอะโดะยุคเอโดะ|เอโดะ]] จนกระทั่งมีการก่อตั้งเมืองขึ้นในปี [[ค.ศ. 1889]] ในชื่อเมือง "คันเบะ" (神戸) เพื่อระลึกถึงผู้บริจาคในการสร้าง[[ศาลเจ้าอิกุตะ|ศาลเจ้าอิกูตะ]]<ref name="nagasakiu">[http://hikoma.lb.nagasaki-u.ac.jp/en/target.php?id=5363 Nagasaki University] - "Ikuta Shrine". Retrieved February 3, 2007.</ref> จากนั้น ในปี [[ค.ศ. 1956]] รัฐบาลญี่ปุ่นได้จัดตั้งให้โคเบะเป็นหนึ่งในเมืองของประเทศที่มี[[เมืองที่กำหนดขึ้นโดยคำสั่งของรัฐบาลญี่ปุ่น|เขตการปกครองรูปแบบพิเศษ]]
 
โคเบะเป็นเมืองท่าที่สำคัญของญี่ปุ่นที่มีการค้าขายกับทางประเทศตะวันตกนับตั้งแต่การยกเลิกนโยบายปิดประเทศ ในปี [[ค.ศ. 1995]] เกิดเหตุการณ์[[แผ่นดินไหวครั้งใหญ่ฮันชิง พ.ศ. 2538|แผ่นดินไหวครั้งใหญ่]]ทำให้เมืองโคเบะได้รับความเสียหายอย่างหนัก แต่ก็สามารถซ่อมแซมบูรณะจนกลายมาเป็นเมืองท่าที่สำคัญอีกครั้งหนึ่งได้ บริษัทหลายๆแห่งได้ตั้งสำนักงานใหญ่ที่โคเบะ และเมืองนี้ยังขึ้นชื่อในเรื่องของ[[เนื้อโคเบะ]]อีกด้วย
บรรทัด 47:
 
=== ยุคแรกเริ่มจนถึงยุคเมจิ ===
มีการขุดพบการใช้เครื่องมือของมนุษย์ใน[[ยุคโจมง]]ทางตะวันตกของโคเบะ<ref name="oldkobehistory">[http://www.city.kobe.jp/cityoffice/15/020/youran/rekishi.html City of Kobe] - "ประวัติศาสตร์ของโคเบะ" (ภาษาญี่ปุ่น). เข้าถึงข้อมูลเมื่อ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2550.</ref> ด้วยความเหมาะสมทางภูมิศาสตร์ของโคเบะทำให้มีการพัฒนาท่าเรือขึ้นที่บริเวณแห่งนี้ หลักฐานลายลักษณ์อักษรของโคเบะปรากฏครั้งแรกในพงศาวดาร[[นิฮงโชะกิ|นิฮงโชกิ]] ที่กล่าวถึงการตั้ง[[ศาลเจ้าอิกุตะ|ศาลเจ้าอิกูตะ]]โดยพระจักรพรรดิจิงกูเมื่อ ค.ศ. 201<ref name="ikutahistory" />
 
ใน[[ยุคนะนาระ]]และ[[ยุคเฮอัน]]นั้น ท่าเรือในบริเวณนี้ก็เป็นที่รู้จักในชื่อท่าจอดเรือแห่งโอวะวาดะ (โอวะวาดะโนะโทะมะริ โนะ โทมาริ) เป็นจุดที่เริ่มต้นของการเดินทางเจริญสัมพันธไมตรีกับจีน<ref name="oldkobehistory"/> เมืองโคเบะเคยเป็นเมืองหลวงของญี่ปุ่นเป็นช่วงเวลาสั้นๆเมื่อปี ค.ศ. 1180 เมื่อซะมุไรซามูไร[[ไทระ โนะ คิโยะโมะริคิโยโมริ]]สั่งให้พระจักรพรรดิอันโทะคุอันโตกุย้ายไปอยู่ที่เขตฟุคุฮะฟูกูฮาระในเขตเมืองโคเบะ<ref name="oldkobehistory"/> แต่หลังจากนั้น 5 เดือน พระจักรพรรดิก็ย้ายกลับไป[[เคียวโตะ]]อีกครั้ง<ref name="kobecityinfo">[http://www.kobecityinfo.com/history.html Kobe City Info] - "History". เข้าถึงข้อมูลเมื่อ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550.</ref> ในช่วงปลายของ[[ยุคเฮอัง]] โคเบะเป็นสมรภูมิของ[[สงครามเก็มเป]] อันเป็นเป็นเส้นแบ่งระหว่าง[[ยุคเฮอัง]]และ[[ยุคคะมะกุระ|ยุคคามากูระ]]
 
หลังจาก[[ยุคคะมะกุคามากูระ]] โคเบะกลายเป็นศูนย์กลางการค้าขายกับจีนและต่างประเทศ และในคริสต์ศตวรรษที่ 13 โคเบะเริ่มเป็นที่รู้จักในชื่อ ท่าเรือเฮียวโงะ (兵庫津 ''เฮียวโงะสึวงตสึ'') เป็นท่าเรือสำคัญเคียงคู่กับท่าเรือของเมือง[[โอซะซากะ]]
 
หลังจากนั้น เมื่อเข้าสู่[[ยุคเอะโดะเอโดะ]] พื้นที่ทางตะวันออกของโคเบะอยู่ภายใต้การปกครองของมณฑลอะมะงะซะกิและพื้นที่ทางตะวันออกอยู่ภายใต้การปกครองของมณฑลอะกะชิ ส่วนพื้นที่ตอนกลางของเมืองถูกปกครองโดย[[รัฐบาลเอโดะ|รัฐบาลโชกุนโทะกุงะวะโทกูงาวะ]]<ref>[http://www.city.kobe.jp/cityoffice/06/014/year/year.html#3 City of Kobe] - "โคเบะเมืองเก่า" (ภาษาญี่ปุ่น). เรียกดูข้อมูล 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550.</ref><ref>[http://www.city.ashiya.hyogo.jp/english/history.html City of Ashiya] - "An Outline History of Ashiya". เรียกดูข้อมูล 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550.</ref> จนกระทั่งมีการยกเลิกไปเมื่อมีการยกเลิกระบบศักดินาในปี ค.ศ. 1871 เมื่อล่วงเข้าสู่[[ยุคเมจิ]] และมีการใช้ระบบการปกครองแบบจังหวัด ดังเช่นที่ใช้กันในทุกวันนี้
 
รัฐบาล[[โชกุน|บะกุฟุบากูฟุ]]เปิดท่าเรือโคเบะให้ค้าข่ายกับต่างประเทศได้พร้อมท่าเรือโอซะซากะเมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1868 ก่อนที่จะเกิด[[สงครามโบชิง]]และ[[การคืนสู่ราชบัลลังก์ของจักรพรรดิเมจิ|การปฏิรูปเมจิ]]ขึ้น จากนั้นพื้นที่ของโคเบะจึงเริ่มเป็นที่รู้จักมากขึ้น และมีชาวตะวันตกเริ่มเข้ามาตั้งถิ่นฐานในบริเวณคิตะโนะ คิตาโนะทางตอนเหนือของโคเบะในปัจจุบัน
 
<gallery>
ไฟล์:Viewofkobe.PNG|ท่าเรือโคเบะในศตวรรษที่ 19
ไฟล์:Kobe kaigan street01 1920.jpg| The Bund
ไฟล์:Choueke house02 1920.jpg|ย่านคิตะโนะคิตาโนะ สร้างขึ้นในช่วงทศวรรษ 1880 - 1910
ไฟล์:Old hyogo prefectural office bld03 1920.jpg|สำนักงานจังหวัดเฮียวโงะเดิม สร้างขึ้นในปี ค.ศ. 1902
</gallery>
 
=== สมัยใหม่ ===
เมืองโคเบะ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1889 และเนื่องจากเมืองมีความเกี่ยวข้องทางประวัติศาสตร์กับ[[ศาลเจ้าอิกุตะ|ศาลเจ้าอิกูตะ]] จึงได้ตั้งชื่อเมืองว่า "โคเบะ" ซึ่งมาจากคำว่า "คันเบะ" (神戸) ที่เป็นคำโบราณที่หมายถึงผู้ที่บริจาคในการสร้างศาลเจ้าแห่งนี้
 
ในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] โคเบะถูกโจมตีทางอากาศอย่างหนัก และเหตุการณ์ที่สำคัญที่สุดคือการทิ้งระเบิด B-29 เมื่อวันที่ 17 มีนาคม [[ค.ศ. 1945]] จนเป็นเหตุให้มีพลเรือนเสียชีวิต 8,841 ราย พื้นที่เมืองโคเบะลดลงไปกว่าร้อยละ 21 เป็นเหตุการณ์ที่ทำให้เกิดแรงบันดาลใจในการสร้างภาพยนตร์เรื่อง[[สุสานหิ่งห้อย]]จากค่ายโดย[[สตูดิโอจิบลิ]]
 
เมื่อวันที่ 18 มีนาคม ค.ศ. 1975 เทศมนตรีเมืองโคเบะผ่านบัญญัติว่าด้วยการห้ามมิให้ยานพาหนะใดที่บรรทุก[[อาวุธนิวเคลียร์]]เข้ามาเทียบท่าที่ท่าเรือโคเบะโดยเด็ดขาดหลังจากที่ได้รับการกดดันจากพลเรือนมาโดยตลอด
 
เมื่อวันที่ [[17 มกราคม]] [[ค.ศ. 1995]] เกิดเหตุการณ์[[แผ่นดินไหวครั้งใหญ่ฮันชิง พ.ศ. 2538|แผ่นดินไหวครั้งใหญ่ฮันชิง]]วัดขนาดได้ที่แมกนิจูด 7.2 เมื่อเวลา 5:46 นาฬิกา คร่าชีวิตชาวเมืองไป 6,434 ราย และประชาชนไร้ที่อยู่อาศัย 212,443 คน ท่าเรือและหลายส่วนของเมืองได้รับความเสียหาย<ref>[http://www.city.kobe.jp/cityoffice/06/013/report/january.2008.pdf The Great Hanshin-Awaji Earthquake Statistics and Restoration Progress] (Jan. 2008). เรียกดูข้อมูล 14 เมษายน พ.ศ. 2551.</ref> หลังจากได้มีการบูรณะเมืองจนเข้าสู่สภาพปกติเรียบร้อยแล้ว เมืองโคเบะได้จัดแสดงแสงสี (Luminari) เพื่อเป็นที่ระลึกถึงโศกนาฏกรรมในครั้งนั้นเป็นประจำทุกปี
 
ท่าเรือโคเบะเคยเป็นท่าเรือที่มีเรือเข้าออกมากที่สุดของญี่ปุ่นและติดอันดับท่าเรือชั้นนำของเอเชีย จนกระทั่งเมื่อเกิดเหตุการณ์[[แผ่นดินไหวครั้งใหญ่ฮันชิง พ.ศ. 2538|แผ่นดินไหวครั้งใหญ่ฮันชิง]]<ref name="maruhon">[http://www.maruhon.com/business/port.htm Maruhon Business News] - Port Conditions in Japan. เรียกดูข้อมูล 23 มกราคม พ.ศ. 2550.</ref> ปัจจุบัน โคเบะเป็นท่าเรืออันดับที่ 4 ของญี่ปุ่นและเป็นท่าเรือที่มีเรือเข้าออกมากที่สุดเป็นอันดับ 49 ของโลก (จากการจัดอันดับเมื่อปี 2012)
 
== ภูมิศาสตร์ ==
โคเบะตั้งอยู่ระหว่างชายฝั่งและภูเขา เป็นเมืองที่ยาวและแคบ ทางตะวันออกติดกับเมืองอะชิยะ ทางตะวันตกติดกับเมืองอะคะชิ และมีเมืองอื่นๆที่สำคัญตั้งอยู่รอบๆ เช่น [[ทะกะระสึกะ|ทาการาซูกะ]] [[นิชิโนะมิยะ|นิชิโนมิยะ]] และ[[มิกิ]]
 
จุดสังเกตที่สำคัญของพื้นที่บริเวณท่าเรือโคเบะคือหอคอยท่าเรือ อันเป็นหอคอยเหล็กกล้าสีแดง และชิงช้าสวรรค์ยักษ์ในย่านฮาร์เบอร์แลนด์ นอกจกนี้ยังมีการถมทะเลเพื่อสร้างเป็นเกาะพอร์ทและเกาะร็อกโกเพื่อขยายพื้นที่ของเมืองอีกด้วย
 
สำหรับย่านไกลจากทะเลนั้น มีย่าน[[โมะโตะมะชิโมโตมาชิ]] [[ซันโนะมิยะ|ซันโนมิยะ]] และไชน่าทาวน์ เป็นย่านที่สำคัญของเมือง มีทางรถไฟหลายสายให้บริการรับส่งผู้โดยสารจากฝั่งตะวันออกไปถึงฝั่งตะวันตกของเมือง โดยมีศูนย์กลางรถไฟหลักอยู่ที่สถานีซันโนะมิยะซันโนมิยะ สถานีโคเบะ และสถานรถไฟ[[ชิงกันเซ็ง]]ชินโคเบะ
 
จุดชมวิวที่สำคัญของเมืองอยู่บนภูเขาร็อกโกรกโก สูงจากระดับน้ำทะเล 931 เมตร สามารถมองเห็นทิวทัศน์ได้ทั้งเมือง และจะมีความสวยงามเป็นพิเศษในช่วงฤดูใบไม้ร่วง
 
<gallery>
ไฟล์:Kobe port tower11s3200.jpg|หอคอยท่าเรือโคเบะ
ไฟล์:Mosaic04s3200.jpg|ฮาร์เบอร์แลนด์
ไฟล์:Kobe_Nankinmachi_at_nightKobe Nankinmachi at night.jpg|ไชน่าทาวน์ โคเบะ
ไฟล์:Giant panda01 960.jpg|แพนด้ายักษ์คูคู ที่สวนสัตว์โอะจิโอจิ
</gallery>
 
บรรทัด 102:
| [[คิตะ (โคเบะ)|เขตคิตะ]] || 北区 || 241.84
|-
| [[ทะรุทารูมิ|เขตทะรุทารูมิ]] || 垂水区 || 26.89
|-
| [[ซุมะซูมะ (โคเบะ)|เขตซุมะซูมะ]] || 須磨区 || 30
|-
| [[นะงะตะนางาตะ|เขตนะงะตะนางาตะ]] || 長田区 || 11.46
|-
| [[เฮียวโงะ (โคเบะ)|เขตเฮียวโงะ]] || 兵庫区 || 14.54
บรรทัด 112:
| [[ชูโอ (โคเบะ)|เขตจูโอ]] || 中央区 || 28.37
|-
| [[นะนาดะ|เขตนะนาดะ]] || 灘区 || 31.4
|-
| [[ฮิงะงาชินะนาดะ|เขตฮิงะงาชินะนาดะ]] || 東灘区 || 30.36
|}
 
บรรทัด 224:
[[ไฟล์:Kobe Mosaic06s4s3200.jpg|thumb|ท่าเรือโคเบะเป็นท่าที่มีเรือเข้าออกมากที่สุดในแถบ[[คันไซ]]]]
 
ท่าเรือโคเบะ เป็นท่าเรือที่สำคัญและเป็นศูนย์กลางการผลิตของเขตอุตสาหกรรมฮันชิง โคเบะเป็นเป็นท่าเรือขนส่งสินค้าที่มีเรือเข้าออกมากที่สุดในภูมิภาค มากกว่าท่าเรือโอซะซากะ และสูงเป็นอันดับ 4 ของญี่ปุ่น<ref name="busyport2005">[http://aapa.files.cms-plus.com/Statistics/WORLD%20PORT%20RANKINGS%202005.xls American Association of Port Authorities] - "World Port Rankings 2005". เรียกดูข้อมูล 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2550.</ref>
 
ในปี ค.ศ. 2004 โคเบะมีผลิตภัณฑ์มวลรวมอยู่ที่ 6.3 ล้านล้านเยน คิดเป็นร้อยละ 34 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมของ[[จังหวัดเฮียวโงะ]]และคิดเป็นร้อยละ 8 ของแถบ[[คันไซ]]<ref name="Kobe economy">[http://web.hyogo-iic.ne.jp/hyogoip/4-2-1.pdf Hyogo Industrial Advancement Center] - "Industry Tendencies in Various Areas of Hyogo Prefecture" (ภาษาญี่ปุ่น). เรียกดูข้อมูล 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2550.</ref><ref>[http://www.esri.cao.go.jp/jp/sna/kenmin/h16/main.html Cabinet Office, Government of Japan] - "2004 Prefectural Economy Survey" (Japanese). เรียกดูข้อมูล 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2550.</ref> รายได้ต่อหัวของประชากรอยู่ที่ 2.7 ล้านเยนต่อปี แบ่งเป็นประเภทหนึ่ง (เกษตรกรรม ประมง และเหมืองแร่) ร้อยละ 1 ประเภทที่สอง (การผลิตและอุตสาหกรรม) ร้อยละ 21 และประเภทบริการ ร้อยละ 78
บรรทัด 234:
 
=== การขนส่งทางราง ===
สถานีซันโนะมิยะซันโนมิยะ เป็นศูนย์กลางการคมนาคมของโคเบะ โดยมีรถไฟ[[เจอาร์]]สายโคเบะเชื่อมต่อโคเบะกับเมือง[[โอซะซากะ]]และเมือง[[ฮิเมะจิเมจิ]] ส่วน[[รถไฟฮันกีว]]สายโคเบะและ[[รถไฟฮันชิง]]สายโคเบะก็เชื่อมต่อโคเบะกับ[[สถานีอุเมะดะ|สถานีอูเมดะ]]ใน[[โอซะซากะ]] นอกจากนี้ รถไฟใต้ดินโคเบะก็เชื่อมต่อกับรถไฟ[[ซันโย ชิงกันเซ็ง]]ที่สถานีชินโคเบะ และรถไฟฟ้าซันโยก็ให้บริการรถไฟเชื่อมต่อกับฮิเมะจิเมจิด้วยรถไฟด่วนโคเบะ
 
นอกจากนี้ ยังมีรถไฟเชื่อมเมืองโคเบะกับส่วนอื่นๆอื่น ๆ ใน[[จังหวัดเฮียวโงะ]]อีก เช่น รถไฟฟ้าโคเบะ รถไฟโฮะกุชินเคียวโฮกุชิงเกียวกุ และรถไฟโคเบะนิวทรานซิท
 
=== การคมนาคมทางถนนและทางอากาศ ===
โคเบะเป็นศูนย์กลางของทางด่วน โดยเฉพาะทางด่วนเมชิน ([[นะโงะยะนาโงยะ]] - โคเบะ) และทางด่วนฮันชิน (โอซะซากะ - โคเบะ) มีทางด่วนโคเบะ-อะวะอาวาจิ-นะรุนารูโตะที่เชื่อมโคเบะกับนะรุนารูโตะผ่าน[[เกาะอะวะจิ|เกาะอาวาจิ]]ทาง[[สะพานอะกะชิไคเกียว|สะพานอากาชิไคเกียว]]ที่มีชื่อเสียงในฐานะสะพานแขวนที่ยาวที่สุดในโลก
 
สำหรับการคมนาคมทางการอากาศ มี[[ท่าอากาศยานนานาชาติโอซะซากะ]]และ[[ท่าอากาศยานโคเบะ]]ที่อยู่ใกล้กับเมือง ขณะที่ศูนย์กลางการคมนาคมทางอากาศของภูมิภาค[[คันไซ]]จะอยู่ที่[[ท่าอากาศยานนานาชาติคันไซ]]
 
== การศึกษา ==
บรรทัด 277:
ไฟล์:Sesshu Kobe coast prosperity view.jpg|ภาพวาดนิชิกิเอะ แสดงเรือกลไฟของชาวต่างชาติกำลังเทียบท่าเรือเฮียวโงะในช่วงเปิดประเทศสู่โลกตะวันตกในช่วงปลายศตวรรษที่ 19
ไฟล์:151229 Kobe Port Japan02bs.jpg|โคเบะจากมุมมองบนเครื่องบิน
ไฟล์:Akashi-kaikyo_bridge_night_shot_smallkaikyo bridge night shot small.jpg|[[สะพานอะกะชิไคเกียว|สะพานอากาชิไคเกียว]]
ไฟล์:Kobe City view from Po-ai Shiosai Park01s3.jpg|ย่านใจกลางเมือง
ไฟล์:View of Kikuseidai from Mount Maya Kobe.jpg|ทัศนียภาพยามค่ำคืนจากคิกุกูเซได
ไฟล์:Kobe_Chuo_and_Suma_at_nightKobe Chuo and Suma at night.jpeg|ทัศนียภาพยามค่ำคืน
ไฟล์:Kobe Night View from Nunobiki Herb Garden.jpg|ทัศนียภาพยามค่ำคืนเมื่อมองจากสวนสมุนไพรนุโนะบิกินูโนบิกิ
ไฟล์:Port of Kobe Earthquake Memorial Park2.jpg|อนุสรณ์สถาน[[แผ่นดินไหวครั้งใหญ่ฮันชิง พ.ศ. 2538|แผ่นดินไหวโคเบะ]]
</gallery>
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/โคเบะ"