ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อัลลีโลพาธี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
สุทธิศักดิ์15132 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
สุทธิศักดิ์15132 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Casuarina litter.jpg|thumb|340px|right|''[[Casuarina equisetifolia]]'' กดการงอกพืชที่อยู่ใต้ร่มเงาได้]]
'''อัลลีโลพาธี''' ({{lang-en|Allelopathy}}) เป็นปรากฏการณ์ที่พืชชนิดหนึ่งปล่อย[[สารพิษ]]ออกไปทำอันตรายกับพืชข้างเคียง ซึ่งอาจถึงตายได้ พืชที่สร้างสารพิษมาเรียกว่าพืชผู้ปลดปล่อยสารพิษ (Donor plant) ผลกระทบของอัลลีโลพาธีมี 2 ระดับคือ
* [[ระดับปฐมภูมิ]] เกิดจากเศษซากพืชที่มีสารพิษถูกย่อยสลายหรือถูกน้ำฝนชะ แล้วมีผลต่อการเจริญของพืชอีกชนิดที่อยู่ในดินนั้น รวมทั้งสารพิษที่[[จุลินทรีย์]]สร้างระหว่าง[[การย่อยสลาย]]เศษซากพืชด้วย
* [[ระดับทุติยภูมิ]] เกิดจากการที่พืชสร้างและปลดปล่อยสารพิษออกมาขณะที่ยังมีชีวิตอยู่ ไม่รุนแรงเท่ากับสารพิษจากเศษซากพืช ผลกระทบที่เห็นชัดเจน เช่น การปล่อยสารพิษจากต้น ''Juglans nigra'' และต้น[[เบญจมาศ]]
== อ้างอิง ==
* ดวงพร สุวรรณกุล. ชีววิทยาวัชพืช: พื้นฐานการจัดการวัชพืช. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 2543.