ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อัลฟาติฮะฮ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
เก็บกวาด
บรรทัด 1:
 
{{infobox surah|number=1|number-3=001|name=Al-Fātiḥah|name-ar=الْفَاتِحَة|name-en=The Opening|othernames=The Key|next_sura=Al-Baqara|classification=Meccan|juz=1|verses=7|words=29|letters=139}}
[[ไฟล์:Al_Fatihah_-_naskh_script.jpg|thumb|ปกกุรอ่านศตวรรษที่ 14 หรือ 15]]
'''ซูเราะฮ์ อัล-ฟาติฮะฮ์''' ({{Lang-ar|سُورَةُ الْفَاتِحَة}}سُورَةُ الْفَاتِحَة&#x200E;) เป็นบทที่หนึ่ง ([[ซูเราะฮ์]]) ของ[[อัลกุรอ่าน]] มีเจ็ดโองการ ([[อายะฮ์]]) เป็นบทที่จำเป็นต่อการละหมาดเพื่อชี้แนวทางของ[[พระเป็นเจ้าในศาสนาอิสลาม|อัลลอฮ์]]<ref name="Maududi">{{cite book|last=Maududi|first=Sayyid Abul Ala|title=Tafhim Al Quran|url=http://www.englishtafsir.com/Quran/1/index.html}}</ref>  และเป็นซูเราะฮ์แรกที่ต้องอ่านทุกครั้งในทุกๆ ตักบีร์<ref>Joseph E. B. Lumbard "Commentary on Sūrat al-Fātiḥah," ''The Study Quran''. ed. Seyyed Hossein Nasr, Caner Dagli, Maria Dakake, Joseph Lumbard, Muhammad Rustom (San Francisco: Harper One, 2015), p. 3.
บรรทัด 8:
 
คำว่า الفاتحة มีรากมาจากคำว่า فتح ที่หมายถึงเปิด, อธิบาย, ไม่ปิด, กุญแจสมบัติ ฯลฯ หมายความว่าซูเราะฮ์ อัล-ฟาติฮะฮ์เป็นบทสรุปทั้งอัลกุรอ่านและเป็นเหตุผลว่าทำไมต้องอ่านซูเราะฮ์อัล-ฟาติฮะฮ์ในการละหมาดทุกครั้ง
 
 
ซูเราะฮ์นี้มีชื่อต่างๆ เช่น อุมมุลกิตาบ ("มารดาแห่งหนังสือ") อุมมุลกุรอ่าน ("มารดาแห่งอัลกุรอ่าน")<ref name="Molla sadra">{{cite book|title=Tafsir al-Quran al-Karim|author=[[Mulla Sadra]]|pages=1:163–164}}</ref><ref name="Ibn Kathir">{{cite book|last=Ibn Kathir|title=Tafsir Ibn Kathir|url=http://www.quran4u.com/Tafsir%20Ibn%20Kathir/001%20Fatihah.htm}}</ref> ซะบาอะ อัล-มะซานี ("โองการทั้งเจ็ดที่อ่านซ้ำ") อัล-ฮัมด์ ("สรรเสริญ")<ref name="khoi">{{cite book|url=|title=[[Al-Bayan Fi Tafsir al-Quran]]|author=[[Abu al-Qasim al-Khoei]]|pages=446}}</ref> อัล-ชิฟาอฺ ("การรักษา")<ref name="Bihar al-Anwar">{{cite book|title=[[Bihar al-Anwar]]|author=[[Muhammad Baqir Majlisi]]|pages=89:238}}</ref><ref name="Wasā'il al-Shīʿa">{{cite book|title=[[Wasā'il al-Shīʿa]]|author=[[Al-Hurr al-Aamili]]|pages=6:232}}</ref>{{Primary source inline|date=May 2015}} อัล-รุกยะฮ์ ("การรักษาทางจิตวิญญาณ"),<ref name="Ibn Kathir" /> และอัล-อะซาส ("การก่อตั้ง")<ref>Joseph E. B. Lumbard, "Introduction to Sūrat al-Fātiḥah," ''The Study Quran''. ed. Seyyed Hossein Nasr, Caner Dagli, Maria Dakake, Joseph Lumbard, Muhammad Rustom (San Francisco: Harper One, 2015), p. 3.</ref>
เส้น 15 ⟶ 14:
รายงานจาก[[อับดุลลอฮ์ อิบนุ อับบาส]] และคนอื่นๆ ว่า อัลฟาติฮะฮ์เป็น[[ซูเราะฮ์มักกียะฮ์]] ในขณะที่บางคนรายงานว่าเป็น[[ซูเราะฮ์มะดานียะฮ์]] บางคนเชื่อว่าเป็นทั้งซูเราะฮ์มักกียะฮ์และมะดานียะฮ์<ref>{{cite book|last=Ahmad|first=Mirza Bahir Ud-Din|title=The Quran with English Translation and Commentary|year=1988|publisher=Islam International Publications Ltd.|isbn=1-85372-045-3|pages=1}}</ref><ref>[[iarchive:TafseerEngCommQuranLong|English Translation and Commentary 5 Volumes]]</ref> ในกุรอ่านมีซูเราะฮ์แรกๆที่ถูกประทานให้กับมุฮัมหมัดแค่บางอายะฮ์ของซูเราะฮ์ [[อัล-อะลัก]], [[มุซซัมมิล]], [[อัล-มุดัสซิรฺ]] ฯลฯ รายงานส่วนใหญ่ได้บอกว่าซูเราะฮ์อัล-ฟาติฮะฮ์เป็นซูเราะที่สมบูรณ์อันแรกที่ถูกประทานให้กับนบีมุฮัมหมัด
 
== ดูเพิ่มเติมเพิ่ม ==
 
* [[ยุซ]]
* [[บัซมาละฮ์]]
 
== บันทึกย่อยและอ้างอิง ==
{{reflist|30em}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== เว็บที่เชื่อมโยง ==
 
* Al-Fātiḥah, {{อิงกุรอาน|1|1|s=ns|b=n|e=7}}, ที่ [[Center for Muslim-Jewish Engagement]]