ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนการแก้ไขที่ 7481556 สร้างโดย 113.53.64.7 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1:
{{Infobox royalty
| สีพิเศษ = orange
| image = ไฟล์:Maha Sura Singhanat.jpg
| caption = ''"สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท"''
| full name = สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท
| personal name = บุญมา
เส้น 9 ⟶ 7:
|predecessor = [[สมเด็จพระมหาอุปราช เจ้าฟ้าจุ้ย กรมขุนอินทรพิทักษ์]] ([[กรุงธนบุรี]])
|successor = [[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย|เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร]]
| birth_style = พระราชสมภพ
| ฐานันดร =
| birth_date = วันพฤหัสบดีขึ้น 1 ค่ำ เดือน 11 ปีกุน<br> (1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2286) <ref>{{อ้างหนังสือ
| ผู้แต่ง = ศุภวัฒย์ เกษมศรี, พลตรี หม่อมราชวงศ์, และรัชนี ทรัพย์วิจิตร
เส้น 24 ⟶ 22:
| death_date = 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2346<br> (59 พรรษา)
|death_place = [[พระที่นั่งบูรพาภิมุข]] [[พระราชวังบวรสถานมงคล]]
| title = วังหน้า
| พระราชบิดา =
| father = [[สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก]] (ทองดี)
| mother = [[พระอัครชายา (หยก)]]
| พระราชมารดา =
|mother spouse-type = [[พระอัครชายา (หงส์)]]
| spousesspouse = [[เจ้าศรีอโนชา]]
| มารดา =
| issues =
| spouses = [[เจ้าศรีอโนชา]]
| ชายา =
| หม่อม =
| พระราชสวามี =
| พระสวามี =
| พระโอรส/ธิดา =
| บุตร/ธิดา =
| dynasty = [[ราชวงศ์จักรี]]
}}
'''สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท''' หรือ '''กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท''' พระนามเดิม '''บุญมา''' เป็นพระราชอนุชาร่วมพระราชชนกชนนีกับ[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]] เป็นพระโอรสพระองค์ที่ 5 ใน[[สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก]] (ทองดี) และ[[พระอัครชายา (หยก)]] ประสูติในรัชกาล[[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ]] สมัยกรุงศรีอยุธยา เมื่อวันพฤหัสบดีขึ้น 1 ค่ำ เดือน 11 ปีกุน พ.ศ. 2286 มีนิวาสถานอยู่หลัง[[ป้อมเพชร]] ใน[[กรุงศรีอยุธยา]] เมื่อทรงเจริญวัยได้รับราชการเป็นมหาดเล็กตำแหน่งนายสุดจินดา มหาดเล็กหุ้มแพร ในรัชกาล[[สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์]] มีพระเชษฐา พระเชษฐภคิณี พระอนุชาร่วมพระชนก ประกอบด้วย
* [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยาเทพสุดาวดี]] (นามเดิมว่า สา) พระเชษฐภคินี พระองค์ใหญ่
* [[สมเด็จพระเจ้าขุนรามณรงค์]] (นามเดิมว่า ราม) พระเชษฐา พระองค์ใหญ่
* [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์]] (นามเดิมว่า แก้ว) พระเชษฐภคินี พระองค์รอง
* [[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]] (นามเดิมว่า ด้วง) พระเชษฐา พระองค์รอง
* '''สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท''' (นามเดิมว่า บุญมา)
* [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าลา กรมหลวงจักรเจษฎา]] (นามเดิมว่า ลา) พระอนุชา ต่างพระชนนี
* [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากุ กรมหลวงนรินทรเทวี]] (นามเดิมว่า กุ) พระขนิษฐา ต่างพระชนนี
 
== กรุงศรีอยุธยาแตก ==
เส้น 67 ⟶ 57:
* พ.ศ. 2318 เจ้าพระยาสุรสีหพิษณวาธิราช และเจ้าพระยาจักรี ได้รับพระราชบัญชาให้ยกทัพจากพิษณุโลกไปขับไล่โปสุพลา ที่ยกมาตีเมืองเชียงใหม่ และต่อมา[[อะแซหวุ่นกี้]] ยกมาล้อมเมืองพิษณุโลก เจ้าพระยาทั้งสองจึงนำไพล่พลออกจากพิษณุโลกไปตั้งมั่นที่เมืองเพชรบูรณ์ ต่อมาพม่าถอนกำลัง จึงได้คุมกำลังเมืองนครราชสีมาติดตามตีทัพที่กำลังถอยแตกกลับไป
* พ.ศ. 2320 ได้ยกทัพจากกรุงธนบุรีไปสมทบทัพเจ้าพระยาจักรีที่นครราชสีมา ตีเมืองนคร[[จำปาศักดิ์]] เมือง[[อัตบือ]] [[สุรินทร์]] [[สังขะ]] [[ขุขันธ์]] ไว้ได้ จากความชอบในการพระราชสงครามครั้งนี้ เจ้าพระยาจักรี ได้รับเลื่อนบรรดาศักดิ์เป็น "สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก"
* พ.ศ. 2321 สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก กับเจ้าพระยาสุรสีหพิษณวาธิราช เกณฑ์ทัพเรือจากกัมพูชา ไปล้อมเมืองเวียงจันทน์ 4 เดือนจึงตีได้ และตีหัวเมืองต่างๆ ในแคว้นลาวจนจดตังเกี๋ยของญวนไว้ได้ด้วย และในครั้งนั้น สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกได้อัญเชิญ[[พระพุทธมหามุนีมณีรัตนปฏิมากร]] กลับคืน[[เวียงจันทน์]]มาประดิษฐานที่กรุงธนบุรีด้วย
* พ.ศ. 2324 เจ้าพระยาสุรสีหพิษณวาธิราช เป็นแม่ทัพหน้าร่วมกับสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก ยกทัพไปตีกัมพูชา แต่ต้องเสด็จกลับกรุงธนบุรี เนื่องจากสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงพระประชวร บ้านเมืองเกิดจลาจล สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกได้เสด็จปราบดาภิเษกเป็นพระมหากษัตริย์ รัชกาลที่ 1 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ทรงสถาปนาพระบรมราชจักรีวงศ์ และสถาปนากรุงเทพมหานคร เป็นราชธานี เจ้าพระยาสุรสีหพิษณวาธิราช ได้รับสถาปนาเป็น สมเด็จพระมหาอุปราช กรมพระราชวังบวรสถานมงคล บันทึกบางฉบับจะเอ่ยพระนามว่า สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวกรมพระราชวังบวรสถานมงคลบ้าง สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทั้งสองพระองค์บ้าง (หมายความรวมถึงรัชกาลที่ 1 และสมเด็จวังหน้า) ไม่เป็นที่แน่นอน ซึ่งพระนามนี้ต่อมาพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงกำหนดระเบียบเกี่ยวกับพระเกียรติเจ้านายใหม่ โดยให้ขานพระนามว่า สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท
เส้น 81 ⟶ 71:
นอกจากจะทรงอุทิศพระองค์เสด็จไปในการศึกสงครามกอบกู้เอกราช และป้องกันพระราชอาณาจักรตลอดพระชนมชีพ สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท ยังทรงเสริมสร้างความมั่นคงให้แก่บ้านเมือง ทรงอุปถัมภ์บำรุงการพระศาสนา ศิลปวรรณกรรม และสถาปัตยกรรม เป็นต้นว่า โปรดให้สร้าง พระราชวังบวร (ซึ่งปัจจุบันคือบริเวณ[[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] [[พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพระนคร]] [[โรงละครแห่งชาติ|โรงละครแห่งชาติ วิทยาลัยช่างศิลป์]] และ[[วิทยาลัยนาฏศิลป์]]) ทรงสร้างกำแพงพระนครตั้งแต่ประตูวัดสังเวชวิศยารามจนถึงวัดบวรนิเวศ และทรงสร้างป้อมอิสินธร [[ป้อมพระอาทิตย์]] [[ป้อมพระจันทร์]] ป้อมยุคนธร (ซึ่งรื้อลงแล้ว) คงเหลือแต่[[ป้อมพระสุเมรุ]] และทรงสร้างประตูยอดของบรมมหาราชวัง คือ ประตูสวัสดิโสภา ประตูมณีนพรัตน์ ประตูอุดมสุดารักษ์ และทรงสร้างโรงเรือที่ฟากตะวันตก ทรงสถาปนา[[วัดมหาธาตุ]] [[วัดชนะสงคราม]] (วัดตองปุ) [[วัดโบสถ์]] [[วัดเทวราชกุญชร]] (วัดสมอแครง) [[วัดราชผาติการาม]] (วัดส้มเกลี้ยง) [[วัดปทุมคงคา]] (วัดสำเพ็ง) วัดครุฑ [[วัดสุวรรณคีรี]] (วัดขี้เหล็ก) [[วัดสุวรรณดาราราม]] ทรงสร้างหอมณเฑียรธรรมใน[[วัดพระศรีรัตนศาสดาราม]] วิหารคต [[วัดโพธิ์|วัดเชตุพนฯ]] เป็นต้น พระปรีชาสามารถ และพระมหากรุณาธิคุณในสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท ได้จารึกอยู่ในประวัติศาสตร์ของชาติเป็นที่แซ่ซร้องสดุดีเทิดทูนของพสกนิกร ไทยตลอดมา
 
สมเด็จพระบวรรสชเจ้ามหาสุรสิงหนาท กรมพระราชวังบวรสถานมงคล รสิงหนาทเสด็จสวรรคต เมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ 2346 สิริพระชนม์พรรษาชนมพรรษา 59ปี พรรษา ได้รับพระราชทานพระโกศไม้สิบสองหุ้มทองคำทรงพระบรมศพ<ref>[http://vajirayana.org/พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่-๑/๑๐๔-กรมพระราชวังบวรสถานมงคลสวรรคต และพระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๑ : ๑๐๔. กรมพระราชวังบวรสถานมงคลสวรรคต]</ref> และพระราชทานเพลิง ณ พระเมรุท้องสนามหลวง<ref>[http://vajirayana.org/พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่-๑/๑๑๐-การพระเมรุกรมพระราชวังบวรสถานมงคล พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๑ : ๑๑๐. การพระเมรุกรมพระราชวังบวรสถานมงคล]</ref>
 
== พระโอรส-ธิดา ==
เส้น 99 ⟶ 89:
[[ไฟล์:พระองค์เจ้าดาราวดี.jpg|thumb|150px|พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดาราวดี]]
* [[พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดวงจันทร์|พระองค์เจ้าหญิงดวงจันทร์]] (พ.ศ. 2326-2411) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาฉิม สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 5
* [[พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอสุนี กรมหมื่นเสนีเทพ|พระองค์เจ้าชายอสุนี]] (พ.ศ. 2326-2351) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาขำ ทรงได้รับสถาปนาเป็น'''กรมหมื่นเสนีเทพ''' เมื่อ พ.ศ. 2351 ในรัชกาลที่ 1 สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 3 ทรงเป็นต้นสกุล [[:หมวดหมู่:ราชสกุลอสุนี|อสุนี]]
* พระองค์เจ้าหญิงโกมล (พ.ศ. 2326) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาแก้วศาลาลอย สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 3
* พระองค์เจ้าหญิงบุนนาค (พ.ศ. 2328) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดามา สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 3
* [[พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดาราวดี|พระองค์เจ้าหญิงดาราวดี]] (พ.ศ. 2328-2410) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาน้อย เสกสมรสกับ[[สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาศักดิ์ศักดิพลเสพย์]] สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 4
* พระองค์เจ้าหญิง (พ.ศ. 2328) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาสุวรรณา สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 4
* พระองค์เจ้าหญิงโกสุม (พ.ศ. 2328) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาพ่วง สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 2
เส้น 112 ⟶ 102:
* พระองค์เจ้าหญิงกลัด (พ.ศ. 2332) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดามีใหญ่ สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 3
* พระองค์เจ้าหญิงฉิมพลี (พ.ศ. 2332) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดางิ้ว สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 2
* [[พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสังกะทัต กรมขุนนรานุชิต|พระองค์เจ้าชายสังกะทัต]] (พ.ศ. 2332) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดา กรมหมื่นนรานุชิต ในรัชกาลที่ 3 ทรงได้รับสถาปนาเป็น [['''กรมขุนนรานุชิต]]''' ในรัชกาลที่ 4 สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 4 ทรงเป็นต้นสกุล [[:หมวดหมู่:ราชสกุลสังขทัต|สังขทัต]]
* พระองค์เจ้าหญิงแก้ว (พ.ศ. 2332) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาแจ่ม สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 1
* พระองค์เจ้าหญิง (พ.ศ. 2334) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดานักองค์เภา สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 1
เส้น 138 ⟶ 128:
 
== อ้างอิง ==
; เชิงอรรถ
{{รายการอ้างอิง}}
; บรรณานุกรม
* [http://www.royin.go.th/th/knowledge/detail.php?ID=638 ว่าด้วยเรื่องพระนาม จากเว็บไซต์ของราชบัณฑิตยสถาน]
{{เริ่มอ้างอิง}}
* {{cite web|title=พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๑|url=http://vajirayana.org/พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่-๑|publisher=ห้องสมุดดิจิทัลวชิรญาณ|author=เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ (ขำ บุนนาค)|date=11 สิงหาคม 2531|accessdate=21 สิงหาคม 2560}}
{{จบอ้างอิง}}
{{เริ่มกล่อง}}