ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Supanut Arunoprayote (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Supanut Arunoprayote (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
| image_temple = Wat Ratchapradit, BKK.jpg
| short_describtion = พระอารามหลวงประจำรัชกาลที่ 4
| type_of_place = [[พระอารามหลวงชั้นเอก]]ชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร
| branch = [[ธรรมยุติกนิกาย]]<br/>[[พระอารามหลวงประจำรัชกาลที่ 4]]
| road_name = 2 ถนนสราญรมย์
| sub_district = แขวงพระบรมมหาราชวัง
บรรทัด 11:
| province = กรุงเทพมหานคร
| zip_code = 10200
| open_time = 09:00 น. - 18:00 น. <br> (พระวิหารเปิดเฉพาะช่วงทำวัตรเช้า 9.00-9.30 น. กับทำวัตรเย็น 17.30-18.30)
| open_time = 09:00 น. - 18:00 น.
| website = [https://www.facebook.com/Watrajapradit Watrajapradit]
}}
[[ไฟล์:Wat Ratchapradit, BKK (II).jpg|300px|right|thumb|เสาผนังกรุหินอ่อนในพระวิหาร (พระอุโบสถ) และปาสาณเจดีย์ (เบื้องหลัง) อันเป็นสัญลักษณ์ทางสถาปัตยกรรมที่สำคัญของวัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม]]
[[ไฟล์:Phra Phuttha Sihing in Wat Ratchapradit.jpg|300px|thumb|right|"พระพุทธสิหิงคปฏิมากร" พระประธานพระวิหารหลวง ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโปรดฯ ให้จำลองมาจาก[[พระพุทธสิหิงค์]] ณ [[พระที่นั่งพุทไธสวรรย์]]]]
 
'''วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม''' เป็น[[พระอารามหลวงชั้นเอก]]ชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร<ref>[[ราชกิจจานุเบกษา]], [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2458/A/284.PDF ประกาศกระทรวงธรรมการ แผนกกรมสังฆการี เรื่อง จัดระเบียบพระอารามหลวง], เล่ม 32, ตอน 0 ก, 3 ตุลาคม พ.ศ. 2458, หน้า 284 </ref> ตั้งอยู่ที่แขวงพระบรมมหาราชวัง [[เขตพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนคร]]โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น[[กรุงเทพมหานคร]] ตามธรรมเนียมประเพณีโบราณที่ว่าวัดราชประดิษฐฯ ในราชธานีจะต้องมีเป็นวัดสำคัญประจำที่มีขนาดเล็กมาก 3ด้วยเนื้อที่เพียง 2 ไร่ 2 งานกับ 98 ตารางวาเท่านั้น<ref name="book">''พระมหาวิโรจน์ ธมมวีโร'', หลักสูตรสวดมนต์ฉบับวัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร คือเนื่องในโอกาสครบรอบ 84 พรรษา พระธรรมปัญญาจารย์, หน้าที่ 21</ref> โดยมีอาณาเขต ทิศเหนือจรด[[วัดมหาธาตุวังสราญรมย์]] หรือ[[วัดราชบูรณะกรมแผนที่ทหาร]]ในปัจจุบัน ทิศใต้จรด[[วัดราชประดิษฐานสวนสราญรมย์]] จึงทรงสร้างขึ้นใหม่เพื่อให้ครบตามโบราณราชประเพณีทิศตะวันออกจรดซอยราชินี และเพื่อพระอุทิศถวายแก่พระสงฆ์ฝ่ายธรรมยุติกนิกายเพื่อที่พระองค์เองและเจ้านาย ข้าราชการ ที่จะไปทำบุญที่วัดฝ่าย[[ธรรมยุติกนิกายคลองหลอด]]ใกล้ และทิศตะวันตกจรด[[พระบรมมหาราชวังทำเนียบองคมนตรี]]ได้สะดวก วัดราชประดิษฐฯ จึงเป็นวัดฝ่ายธรรมยุติกนิกายวัดแรกที่สร้างขึ้นเพื่อพระสงฆ์ในนิกายนี้ เพราะวัดอื่น ๆ ของฝ่ายธรรมยุตเป็นวัดที่แปลงมาจากวัดของมหานิกาย
 
วัดราชประดิษฐฯ เป็นวัดที่[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น ตามธรรมเนียมประเพณีโบราณที่ว่า ในราชธานีจะต้องมีวัดสำคัญประจำ 3 วัด คือ [[วัดมหาธาตุ]] [[วัดราชบูรณะ]] [[วัดราชประดิษฐาน]] จึงทรงสร้างขึ้นใหม่เพื่อให้ครบตามโบราณราชประเพณี และเพื่อพระอุทิศถวายแก่พระสงฆ์ฝ่าย[[ธรรมยุติกนิกาย]]เพื่อที่พระองค์เองและเจ้านาย ข้าราชการ ที่จะไปทำบุญที่วัดฝ่ายธรรมยุติกนิกายใกล้[[พระบรมมหาราชวัง]]ได้สะดวก วัดราชประดิษฐฯ จึงเป็นวัดฝ่ายธรรมยุติกนิกายวัดแรกที่สร้างขึ้นเพื่อพระสงฆ์ในนิกายนี้ เพราะวัดอื่น ๆ ของฝ่ายธรรมยุตเป็นวัดที่แปลงมาจากวัดของมหานิกาย และด้วยเหตุนี้เองวัดแห่งนี้จึงได้รับยกให้เป็นวัดประจำรัชกาลที่ 4
วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมารามสร้างขึ้นในที่ดินที่เคยเป็นสวนกาแฟของหลวงโดยก่อสร้างใน พ.ศ. 2407 เดิม[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]พระราชทานนามว่า "วัดราชประดิษฐสถิตธรรมยุติการาม" เมื่อสร้างเสร็จแล้วได้เปลี่ยนเป็น "วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม" เพื่อให้เหมาะสมกับเป็นที่ประดิษฐานหลักศิลา ซึ่งเป็นสีมามีจารึกคาถาบาลีและ[[ภาษาไทย]] ซึ่งเป็นบทพระราชนิพนธ์รวม 10 หลัก
 
ถึงแม้ว่าวัดแห่งนี้จะมีพื้นที่เพียงเล็กน้อย แต่ภายในพระอารามนี้ก็ประกอบไปด้วยปูชนียวัตถุ ปูชนียสถานมากมาย เช่น พระวิหารและพระเจดีย์ที่ฉลุด้วยหินอ่อน ปราสาทพระจอม ปราสาทพระไตรปิฏกทรงขอม และพระที่นั่งทรงธรรมหรือศาลาการเปรียญ ที่เป็นที่ตั้งธรรมาสน์ยอดมงกุฎ<ref>[https://www.silpa-mag.com/club/art-and-culture/article_4640 พระวิหารหลวง วัดราชประดิษฐฯ แหล่งรวมของพระพุทธรูป“จำลอง” องค์สำคัญ], สโมสรศิลปวัฒนธรรม .สืบค้นเมื่อ 11/07/2561</ref> และในพระวิหารของวัดก็เป็นที่สถิตของพระประธาน "พระพุทธสิหิงคปฏิมากร" ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงให้จำลองจากพระพุทธสิหิงค์องค์จริงที่[[พระที่นั่งพุทไธสวรรย์]]
 
== ประวัติ ==
วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมารามสร้างขึ้นในที่ดินที่เคย ซึ่งเดิมคยเป็นสวนกาแฟของหลวงโดยก่อสร้าง สมัยรัชกาลที่ 3 และเป็นโรงเรือนที่อยู่อาศัยของข้าราชการในรัชกาลที่ 4 พระบาทสมเด็จจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงขอซื้อที่เพื่อสร้างวัดธรรมยุติกนิกาย เมื่อ พ.ศ. 2407 เดิมเพื่อสำหรับ[[เจ้า]]นาย ข้าราชการ ฝ่ายหน้า-ใน ได้บำเพ็ญกุศลสะดวกขึ้น เพราะใกล้พระบรมมหาราชวัง [[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]พระราชทานนามว่า "วัดราชประดิษฐสถิตธรรมยุติการาม" เมื่อสร้างเสร็จแล้วได้เปลี่ยนเป็น "วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม" เพื่อให้เหมาะสมกับเป็นที่ประดิษฐานหลักศิลา ซึ่งเป็นสีมามีจารึกคาถาบาลีและ[[ภาษาไทย]] ซึ่งเป็นบทพระราชนิพนธ์รวม 10 หลัก
 
ในปี พ.ศ. 2411 ปรากฎเรื่องประกาศให้เรียกนามวัดราชประดิษฐฯ ให้ถูก เพราะมีผู้เรียกวัดราชบัณฑิตบ้าง วัดทรงประดิษฐ์บ้าง ไม่ถูกต้องกับที่พระราชทานนามไว้ จึงทรงกำชับว่า ให้เรียกชื่อวัดว่า "วัดราชประดิษฐฯ" หรือ "วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม"
เส้น 25 ⟶ 30:
หลังจากทรงสร้างเสร็จแล้ว ได้ทรงอาราธนา[[สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (สา ปุสฺสเทโว)|พระสาสนโสภณ (สา ปุสฺสเทโว)]] หรือสามเณรสา ผู้สอบ[[เปรียญธรรม 9 ประโยค]]ได้ขณะเป็นสามเณร เป็นสามเณร[[นาคหลวง]] สายเปรียญธรรม รูปแรกของกรุงรัตนโกสินทร์ จาก[[วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร]] มาเป็นเจ้าอาวาสเมื่อ พ.ศ. 2408 ปีฉลู ทรงกระทำการสมโภชทั้งเจ้าอาวาสและวัดใหม่เป็นเวลา 3 วัน
 
วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมารามเดิมพื้นที่บริเวณนี้เคยเป็นสวนกาแฟหลวง สมัยรัชกาลที่ 3 และเป็นโรงเรือนที่อยู่อาศัยของข้าราชการในรัชกาลที่ 4 ทรงขอซื้อที่เพื่อสร้างวัดธรรมยุติกนิกาย เมื่อ พ.ศ. 2407 เพื่อสำหรับ[[เจ้า]]นาย ข้าราชการ ฝ่ายหน้า-ใน ได้บำเพ็ญกุศลสะดวกขึ้น เพราะใกล้พระบรมมหาราชวัง ในพระวิหารหลวงมีจิตรกรรมฝาผนังเกี่ยวกับพระราชพิธี 12 เดือน ที่[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โปรดฯ ให้วาดไว้ มีสถาปัตยกรรมที่น่าชม เช่น ปาสาณเจดีย์, ปรางค์ขอม, ปราสาทพระบรมรูป (ปราสาทพระจอม), ปราสาทพระไตรปิฎก ฯลฯ และเพราะด้วยธรรมยุติกนิกายนั้นเคร่งครัดในพระธรรมวินัยมาก เขตสังฆาวาสนั้นจึงห้ามสตรีผ่านเข้าออกมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 4 จนถึงปัจจุบัน
 
== ลำดับเจ้าอาวาสวัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม ==