ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แอ่งยุบปากปล่อง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
Potapt ย้ายหน้า แอ่งภูเขาไฟรูปกระจาด ไปยัง แอ่งยุบปากปล่อง: ศัพท์บัญญัติภูมิศาสตร์
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:La Cumbre - ISS.JPG|thumb|270px|แอ่งภูเขาไฟรูปกระจาดยุบปากปล่องถ่ายจากดาวเทียม]]
'''แอ่งยุบปากปล่อง''' หรือ '''แอ่งภูเขาไฟรูปกระจาด''' ({{lang-en|Calderacaldera}}) เป็นแอ่ง[[ภูเขาไฟ]]ที่มีขอบแอ่งเอียงชันลาดลงสู่ก้นแอ่ง อาจมีหรือไม่มีกรวยภูเขาไฟขนาดต่างๆ โผล่อยู่ที่ก้นแอ่งก็ได้ แอ่งภูเขาไฟแบบนี้เกิดขึ้นจากการระเบิดอย่างรุนแรงและฉับพลันในส่วนลึกลงไปของภูเขาไฟ โดยมีพลังระเบิดมากพอที่จะผลักดันส่วนบนให้กระจัดกระจายออกไปรอบทิศทาง ทำให้ปริมาณหินมหาศาลเคลื่อนย้าย เกิดเป็นรอยรูปกระจาดขึ้น หลังจากนั้น การระเบิดย่อยๆย่อย ๆ หรือการหลั่งไหลของลาวาขึ้นสู่ผิวพื้นก้นกระจาด ก็อาจทำให้เกิดกรวดภูเขาไฟย่อยๆย่อย ๆ หรือใหญ่ๆใหญ่ ๆ ขึ้นท่ามกลางแอ่งก้นกระจาดอีกต่อหนึ่ง
 
ตัวอย่างภูมิประเทศแบบนี้เห็นได้ชัดที่ [[หมู่เกาะกรากะตัว]] [[ประเทศอินโดนีเซีย]] [[ภูเขาไฟตาอาล]] ใกล้เมืองกรุง[[มะนิลา]] [[ประเทศฟิลิปปินส์]] และที่[[ภูเขาไฟวิสุเวียส]] ใน[[ประเทศอิตาลี]] ใน[[ประเทศไทย]]นั้น มีตัวอย่างที่เข้าใจว่าเป็นแอ่งภูเขาไฟเล็กๆเล็ก ๆ แบบนี้ที่เขาหลวง [[อ.อำเภอคีรีมาศ]] [[จ.จังหวัดสุโขทัย]] อันเป็นภูเขาไฟที่สงบแล้ว
 
== เครเตอร์และแอ่งภูเขาไฟรูปกระจาดยุบปากปล่อง ==
เครเตอร์เป็นปากปล่องที่มีลักษณะเป็นแอ่งค่อนข้างกลมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางไม่เกิน 1 กิโลเมตร เป็นผลจากการปะทุของก๊าซและตะกอนภูเขาไฟ ส่วนแอ่งภูเขาไฟรูปกระจาดยุบปากปล่องมีลักษณะคล้ายเครเตอร์แต่มีขนาดใหญ่กว่าตั้งแต่ 1 ถึง 50 กิโลเมตร มีรูปร่างกลมถึงค่อนข้างรีมักถูกปิดทับด้วยน้ำฝนหรือหิมะ เกิดจากการแตกหักของโครงสร้างภูเขาไฟทำให้ชั้นหินหลอมเหลวใต้ภูเขาไฟเกิดการทรุดหรือยุบตัวลง
 
== แอ่งภูเขาไฟรูปกระจาดยุบปากปล่องเยลโลว์สโตน ==
[[ไฟล์:Yellowstone Caldera.svg|thumb|270px|แอ่งภูเขาไฟรูปกระจาดยุบปากปล่องในเยลโลว์สโตน]]
[[อุทยานแห่งชาติเยลโลว์สโตน]]มีชื่อเสียงในเรื่องของกีเซอร์และน้ำพุร้อน ถือเป็นหลักฐานที่บ่งชี้ถึงการมีระบบแมกมาที่มียังพลังอยู่ ระบบแมกมานี้เคยทำให้เกิดการระเบิดของภูเขาไฟครั้งรุนแรงที่สุดในประวัติศาสตร์โลกที่เรียกได้ว่า Supervolcanosซูเปอร์วอลเคโน มาแล้วหลายครั้ง หนึ่งในนั้นสร้างแอ่งภูเขาไฟรูปกระจาดยุบปากปล่องที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางถึงประมาณ 50 ไมล์ (ประมาณ 80 กิโลเมตร) หอสังเกตการณ์ภูเขาไฟในเยลโลว์สโตนตรวจจับแผ่นดินไหว การเสียรูปของพื้นดิน การไหลและอุณหภูมิของกระแสน้ำในพื้นที่อย่างใกล้ชิด พบว่ามีกลุ่มของแผ่นดินไหวเกิดขึ้นเป็นครั้งคราว ทำให้แผ่นดินยกตัวขึ้นและลำธารมีการเปลี่ยนแปลงทั้งปริมาณและอุณหภูมิของน้ำ แต่ก็ยังไม่มีหลักฐานบ่งบอกว่าจะมีการระเบิดของภูเขาไฟเกิด ขึ้นในอนาคตอันใกล้นี้ การระเบิดของภูเขาไฟในเยลโลว์สโตนครั้งล่าสุดเกิดขึ้นเมื่อ 70,000 ปีก่อน ทำให้เกิดลาวาหลากของที่ราบสูง Pitchstone ลาวาหลากนี้มีขนาดเท่ากับวอชิงตัน ดี.ซี. และหนามากกว่า 100 ฟุต (30 เมตร) ใต้ Yellowstone เยล์โลว์สโตนมีจุดศูนย์รวมความร้อน (hotspot) อยู่ จุดศูนย์รวมความร้อนเป็นมวลของวัสดุร้อนที่ลอยผ่านชั้นแมนเทิลของโลกขึ้นมา มันจะส่งผ่านความร้อนออกสู่พื้นที่รอบๆแล้วกลายเป็นแรงขับดันในเปลือกโลกที่ทำให้เกิดแผ่นดินไหวและไม่บ่อยนัก ทำให้เกิดภูเขาไฟระเบิด
== อ้างอิง ==