ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เหรียญลูกเสือสดุดี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chanathip e (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Chanathip e (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 13:
| รองมา = [[เหรียญรัตนาภรณ์]]
}}
'''เหรียญลูกเสือสดุดี''' มีชื่อเรียกภาษาอังกฤษว่า "The Boy Scout Citation Medal" เป็นเหรียญสำหรับพระราชทานเป็นบำเหน็จความชอบในราชการ สร้างขึ้นตามพระราชบัญญัติ[[ลูกเสือ]] พ.ศ. 2507 เช่นเดียวกันกับ[[เหรียญลูกเสือสรรเสริญ]] ต่อมาในปี พ.ศ. 2530 [[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช|พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]] ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติ[[เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นสิริยิ่งรามกีรติ ลูกเสือสดุดีชั้นพิเศษ|เครื่องราชอิสริยาภรณ์รามกีรติ ลูกเสือสดุดีพิเศษ]] ขึ้นอีกชั้นหนึ่งในพระราชบัญญัติลูกเสือ
 
== ลักษณะ ==
บรรทัด 19:
เหรียญลูกเสือสดุดี เป็นเหรียญเงิน ลักษณะกลมรี มีขนาดกว้าง 2.5 เซนติเมตร ยาว 3.2 เซนติเมตร '''ด้านหน้า''' มีตราหน้าเสือประกอบวชิระ ริมขอบส่วนบนมีอักษรว่า "ลูกเสือ" และส่วนล่าง มีอักษรว่า "เสียชีพอย่าเสียสัตย์" ตราหน้าเสือประกอบวชิระ และตัวอักษรให้ทำเป็นลายดุน '''ด้านหลัง''' เป็นพื้นเกลี้ยงจารึกนามของผู้ซึ่งได้รับพระราชทาน และวันที่พระราชทาน ขอบส่วนบนมีห่วงห้อย แพรแถบขนาดกว้าง 2.4 เซนติเมตร มีริ้วสีเหลืองกว้าง 1.2 เซนติเมตร อยู่กลาง ริมทั้งสองข้างมีริ้วสีดำกว้าง 6 มิลลิเมตร
 
เหรียญนี้ใช้ห้อยกับแพรแถบ ประดับที่อกเสื้อเหนือปกกระเป๋าเบื้องซ้าย โดยการพระราชทานจะพระราชทานให้เป็นกรรมสิทธิ์ เมื่อผู้รับพระราชทานวายชนม์ ให้ทายาทโดยธรรมรักษาไว้เป็นที่ระลึก
 
เหรียญลูกเสือสดุดีแบ่งเป็น 3 ชั้น ดังนี้
 
* [[ไฟล์:The_Boy_Scout_Citation_Medal_1st_class_(Thailand)_ribbon.png‎]] ชั้นที่ 1 มีเข็มวชิระ ทำด้วยโลหะเงิน ประดับแพรแถบตรงกึ่งกลางในแนวทางดิ่ง 1 เข็ม
* [[ไฟล์:The_Boy_Scout_Citation_Medal_-_2nd_Class_(Thailand)_ribbon.png‎]] ชั้นที่ 2 มีเข็มหน้าเสือ ทำด้วยโลหะเงิน ประดับที่แพรแถบตรงกึ่งกลางในแนวทางดิ่ง 1 เข็ม
* [[ไฟล์:The_Boy_Scout_Citation_Medal_-_3rd_Class_(Thailand)_ribbon.png‎]] ชั้นที่ 3 ไม่มีเข็มวชิระ และเข็มหน้าเสือประดับที่แพรแถบ
 
== การพระราชทาน ==
เส้น 53 ⟶ 47:
#ช่วยเหลือกิจการลูกเสือด้านอื่นๆ จนเกิดผลดีแก่การลูกเสือติดต่อกันไม่น้อยกว่า 3 ปี และปีหนึ่งๆ ไม่น้อยกว่า 5 ครั้ง
#ช่วยเหลือ และส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างคณะลูกเสือไทย กับคณะลูกเสือต่างประเทศเป็นอย่างดี
 
การพระราชทานนี้ จะพระราชทานให้เป็นกรรมสิทธิ์ เมื่อผู้รับพระราชทานวายชนม์ ให้ทายาทโดยธรรมรักษาไว้เป็นที่ระลึก
 
==อ้างอิง==