ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โคกินวากาชู"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
Setawut ย้ายหน้า โคกินวากาชู ไปยัง โคกินวากะชู: แยกได้เป็น โคกินวากะ + ชู
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "วากาชู" → "วากะชู" ด้วยสจห.
บรรทัด 1:
{{เพิ่มอ้างอิง}}
[[ไฟล์:Kokin01.jpg|thumb|ปก โคกินวากากะชู ฉบับ เก็นเอบ็อง ศตวรรษที่ 12]]
 
'''โคกินวากาชู''' หรือ '''โคกิงวากากะชู''' (古今和歌集, The Kokin Wakashū) เรียกกันสั้น ๆ ว่า ''โคกินชู'' (古今集, Kokinshū)ชื่อ หมายถึง ประชุมบทร้อยกรองแบบญี่ปุ่นตั้งแต่โบราณถึงปัจจุบัน เป็นหนังสือประชุมบทร้อยกรองแบบวากะ ที่จัดทำโดยสำนักพระราชวังในต้นยุคเฮอัง โดยพระราชดำริของจักรพรรรดิอูดะ (Emperor Uda ค.ศ. 887–897) และจัดทำโดยพระราชรับสั่งของจักรพรรดิไดโงะ (Emperor Daigo ค.ศ 897–930) ราชโอรส ราวปี ค.ศ. 905 และสำเร็จในปี ค.ศ. 920 มีหลักฐานว่า ร้อยกรองบทสุดท้ายรวบรวมเข้าไปในราวปี ค.ศ. 914 ผู้รวมรวมเป็นกวีในราชสำนัก 4 คน นำโดย [[คิ โนะ สึยูรายูกิ]](Ki no Tsurayuki), โอชิโกจิ มิตสึเนะ(Ōshikōchi Mitsune), มิบุ โนะ ทาดามิเนะ (Mibu no Tadamine) รวมถึง คิ โนะ โทโมโนริ (Ki no Tomonori) ซึ่งเสียชีวิตก่อนที่จะรวบรวมประชุมบทร้อยกรองนี้เสร็จ
 
== ความสำคัญ ==
[[ไฟล์:Kokin02.jpg|thumb|left|เนื้อหาใน โคกินวากากะชู ฉบับ เก็นเอบ็อง ศตวรรษที่ 12]]
 
[[ไฟล์:Kokin02.jpg|thumb|left|เนื้อหาใน โคกินวากาชู ฉบับ เก็นเอบ็อง ศตวรรษที่ 12]]
 
โคกินชู เป็นประชุมร้อยกรองแบบญี่ปุ่น 21 ประเภท (二十一代集, Nijūichidaishūthe) เล่มแรกที่รวบรวบขึ้นโดยพระราชประสงค์ของพระจักรพรรดิ และเป็นประชุมร้อยกรองที่แสดงถึงลักษณะของบทร้อยกรองแบบญี่ปุ่นในสมัยนั้นได้อย่างชัดเจน และกลายเป็นกฎของระบบการแต่งวากะ หรือ บทร้อยกรองแบบญี่ปุ่นสืบต่อมาจนถึงปลายศตวรรษที่ 19 เป็นประชุมร้อยกรองเล่มแรกที่แบ่งบทกวีออกเป็นประเภท กวีตามฤดูกาล และ บทกวีที่เกี่ยวกับความรัก บทกวีเกี่ยวกับฤดูกาลในโคกินชู สร้างแรงบันดาลใจจนพัฒนาเป็นรูปแบบของการแต่ง กวีแบบ[[ไฮกุ]] ในปัจจุบัน
เส้น 15 ⟶ 14:
==โครงสร้างหมวดหมู่==
 
ยังไม่มีข้อสรุปในปัจจุบันว่า จำนวนบทร้อยกรองใน โคกินชู แท้จริงแล้วมีจำนวนเท่าไร แต่ โคกินวากากะชู ฉบับออนไลน์<ref name="online">Online edition of the [http://etext.lib.virginia.edu/japanese/kokinshu/ Kokin wakashu] at the [http://etext.lib.virginia.edu/japanese UVa Library Japanese Text Initiative].</ref> มีบทกวีจำนวน 1,111 บท แบ่งเป็น 21 ส่วน ตามแบบของประชุมบทร้อยกรองแบบจีนที่เคยจัดทำกันมาก่อนหน้านี้อย่างเช่น ''[[มันโยชู]]''
 
การแบ่งหมวดหมู่''โคกินชู'' ตามชื่อภาษาญี่ปุ่น<ref name="online" />, their modern readings<ref name="companion">Miner (1985), pages 186-187</ref><ref name="trans">McCullough</ref>, และแปลภาษาอังกฤษ<ref name="contents">Brower, pg 482</ref>.