ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บางระจัน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขที่ 7713427 สร้างโดย 49.231.2.35 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 4:
[[ไฟล์:แผนที่.jpg|thumb|ที่ตั้งค่ายบางระจัน เมื่อเทียบกับในปัจจุบัน]]
 
'''บางระจัน''' เป็นค่ายป้องกันตัวเองของชาวบ้าน[[เมืองสิงห์บุรี]]และเมืองต่าง ๆ ที่พากันมาหลบภัยจากกองทัพพม่าที่[[บางระจัน]] ก่อน[[การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง]]<ref name="เทป">เทปสนทนาเรื่องวาระสุดท้ายกรุงศรีอยุธยา: วีระ ธีรภัทร กับ ดร.สุเนตร ชุตินทรานนท์ ทาง F.M. 97.0 เมกะเฮิร์ตซ์ ตรินิตี้เรดิโอ: 2544 {{อ้างอิงดีกว่า}}</ref> สามารถต้านทานการเข้าตีของกองทัพพม่าได้หลายครั้ง และมีกิตติศัพท์เลื่องลือในด้านวีรกรรมความกล้าหาญใน[[ประวัติศาสตร์ไทย]] โดยมีอนุสาวรีย์สร้างขึ้นเพื่อรำลึกถึงวีรกรรมในครั้งนี้ในตำบลบางระจัน อำเภอค่ายบางระจัน [[จังหวัดสิงห์บุรี]]
 
== เบื้องหลัง ==
บรรทัด 47:
[[ไฟล์:Seal Sing Buri.png|thumb|150px|ตราประจำจังหวัดสิงห์บุรีในปัจจุบัน ซึ่งเริ่มใช้มาตั้งแต่ [[พ.ศ. 2547]] แสดงภาพอนุสาวรีย์ชาวบ้านบางระจัน]]
 
กองหัตถศิลป กรมศิลปากรเริ่มดำเนินการหล่ออนุสาวรีย์ในเดือนพฤศจิกายน [[พ.ศ. 2509]] จนกระทั่งเสร็จเรียบร้อยพร้อมที่จะนำไปติดตั้งได้ใน [[พ.ศ. 2512]]<ref name="บูรณะ"/> โดยกรมศิลปากรสร้างอนุสาวรีย์ไว้ตรงกันข้าม[[วัดโพธิ์เก้าต้น]] อยู่ห่างจาก[[อำเภอเมืองสิงห์บุรี|ตัวเมืองสิงห์บุรี]] ประมาณ 15 กิโลเมตร ไปตามเส้นทางสายสิงห์บุรี-สุพรรณบุรี หมายเลข 3032 [[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]] เสด็จพระราชดำเนินมาในวโรกาสเปิดอนุสาวรีย์วีรชนค่ายบางระจันเมื่อวันที่ [[29 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2519]]<ref>[http://library.tru.ac.th/il/sing/tour/tour01.html อนุสาวรีย์วีรชนค่ายบางระจันและอุทยานค่ายบางระจัน]{{Dead link}}</ref> มีพระราชดำรัสไว้ว่า ''"วีรกรรมในครั้งนั้นเป็นของผู้ที่รักแผ่นดินไทย เป็นสิ่งที่ทำให้คนไทยทั้งมวล ทั้งในอดีตและปัจจุบันมีกำลังใจและเตือนสติให้มีความสามัคคีและรักษาจิตใจให้เข้มแข็ง เพื่อรักษาประเทศไทยให้ตนเองและเพื่อความมั่นคงของแผ่นดิน....."''{{อ้างอิง}}
 
ฐานของอนุสาวรีย์มีคำจารึกไว้ว่า "สิงห์บุรีนี่นี้ นามใด สิงห์แห่งต้นตระกูลไทย แน่แท้ ต้นตระกูล ณ กาลไหน วานบอก หน่อยเพื่อน ครั้งพม่ามาล้อมแล้ ทั่วท้องบางระจัน"
บรรทัด 70:
<br>
รัฐบาลและประชาชนชาวไทยจึงพร้อมใจกันสร้างอนุสาวรีย์นี้ขึ้น<br>
เพื่อประกาศเกียรติคุณของวีรชนค่ายบางระจันให้ยั่งยืนชั่วกาลนาน.<ref name="บูรณะ">[http://www.arts.chula.ac.th/~complit/lithist/documents/7_rajan3.htm#bc3 การฟื้นฟูบูรณะค่ายบางระจันและวัดโพธิ์เก้าต้น]{{Dead link}}</ref>"</blockquote>
 
== ในวรรณกรรมร่วมสมัย ==
บรรทัด 76:
 
== การวิเคราะห์ ==
ปัจจุบัน นักวิชาการทางประวัติศาสตร์มีความเชื่อโน้มเอียงไปในทางที่ว่า วีรกรรมของชาวบ้านบางระจันไม่มีอยู่จริง หรือมีอยู่จริง ก็ไม่ใช่วีรกรรมเพื่อชาติ แต่เป็นไปในลักษณะเป็นชุมนุมป้องกันตนเองจากผู้รุกราน และก็มีชุมนุมลักษณะนี้มากมาย ไม่เพียงเฉพาะบ้านบางระจัน และการต่อต้านทัพพม่าของชาวบ้านบางระจันก็ไม่น่ายาวนานถึง 5-6 เดือน น่าจะไม่เกิน 3 เดือน<ref name="เทป">เทปสนทนาเรื่องวาระสุดท้ายกรุงศรีอยุธยา: วีระ ธีรภัทร กับ ดร.สุเนตร ชุตินทรานนท์ ทาง F.M. 97.0 เมกะเฮิร์ตซ์ ตรินิตี้เรดิโอ: 2544 {{อ้างอิงดีกว่า}}</ref>
 
วีรกรรมของชาวบ้านบางระจันได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานราชการโดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงที่ลัทธิคอมมิวนิสต์ระบาดในประเทศไทย เพื่อเป็นการปลุกใจให้รักและหวงแหนในชาติ เช่น มีการบรรจุในแบบเรียนของกระทรวงศึกษาธิการ บทละครร้อง ฯลฯ ความรับรู้ของคนทั่วไปจะรับรู้ผ่านทางแบบเรียน นิยาย ละคร รวมทั้งภาพยนตร์ และเชื่อตามการนำเสนอนั้นว่าวีรกรรมและตัวละครมีตัวตนจริง{{อ้างอิง}}
 
== ดูเพิ่ม ==
เส้น 83 ⟶ 86:
{{รายการอ้างอิง}}
{{เริ่มอ้างอิง}}
* [http://www.singburi.go.th/general/history.html ประวัติจังหวัดสิงห์บุรี]{{Dead link}}
{{จบอ้างอิง}}