ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เต่าบึงจุด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5:
| status_ref = <ref name=IUCN2012>{{IUCN|id=9029|title=Geoclemys hamiltonii|assesors=Asian Turtle Trade Working Group|version=2012.1|year=2000|downloaded=22 October 2013}}</ref>
 
| image = Geoclemys hamiltonii HardwickeBiswanath 02.jpg
| regnum = [[Animal]]ia
| phylum = [[Chordate|Chordata]]
บรรทัด 33:
| synonyms_ref=<ref name="Fritz 2007">{{Cite journal | journal = Vertebrate Zoology | title = Checklist of Chelonians of the World | year = 2007 | author = Fritz Uwe |author2= Peter Havaš | volume = 57 | issue = 2 | pages = 222 | id = ISSN 18640-5755 | url = http://www.cnah.org/pdf_files/851.pdf | archiveurl = http://www.webcitation.org/5v20ztMND | archivedate = 2010-12-17|accessdate = 29 May 2012 }}</ref>
}}
'''เต่าดำแฮมิลตัน''' หรือ '''เต่าบึงดำลายจุด''' หรือ '''เต่าบึงจุด''' ({{lang-en|Black pond turtle, Spotted pond turtle, Indian spotted turtle}}; {{ชื่อวิทยาศาสตร์|Geoclemys hamiltonii}}<ref>[http://www.chelonia.org/geoclemysgallery.htm Chelonia.org]</ref>) เต่าชนิดหนึ่ง จัดอยู่ใน[[วงศ์เต่านา]] (Geoemydidae)
 
จัดเป็นเพียงเต่าเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล ''Geoclemys''<ref name=itis>{{ITIS|id=551747|taxon=''Geoclemys'' Gray, 1856 |accessdate=15 May 2014}}</ref>
 
เต่าดำแฮมิลตัน เป็นเต่าขนาดเล็ก ขนาดโตเต็มที่ไม่เกิน 1 ฟุต มีลักษณะเด่น คือ ทั้งตัวและกระดองมีสีคล้ำเช่น สีดำ หรือสีน่ำตาลเข้มสีน้ำตาลเข้ม ตามหัวลำตัวและกระดองมีจุดกลมสีเหลืองหรือสีขาวกระจายอยู่ทั่ว ขนาดของเพศผู้โตเต็มที่ไม่เกิน 11–12 นิ้ว และ เพศเมียมีขนาดเล็กกว่าเพศผู้ ขนาด 7–8 นิ้ว มีฤดูผสมพันธุ์ ปีละ 2 ครั้ง ในช่วงเดือนมกราคม และ เดือนกรกฎาคม ออกไข่ครั้งละ 6–10 ฟอง ระยะฟักไข่ 60–65 วัน อายุยืน ประมาณ 15–20 ปี เป็นเต่าที่พบแพร่กระจายพันธุ์ในแหล่งน้ำจืดของอนุทวีปอินเดีย เช่น อินเดีย, บังกลาเทศ, ปากีสถาน
[[ภาพ:Geoclemys hamiltonii.jpg|thumb|left|ส่วนหัว]]
 
เต่าดำแฮมิลตัน เป็นเต่าที่นิยมเลี้ยงกันเป็นสัตว์เลี้ยง โดยเชื่อว่าทำให้ผู้เลี้ยงได้มีชีวิตที่ยืนยาว มีความอยู่เย็นเป็นสุข ทำให้มีสนนราคาซื้อขายที่แพงมาก โดยเต่าขนาดเล็กมีราคาประมาณ 4,000 บาท และเต่าขนาดใหญ่ถึง 10,000 บาท
<ref>{{cite web|url=http://www.youtube.com/watch?v=3wTU59UTE80|title= ศุลกากรสุวรรณภูมิ ตรวจยึด "เต่าดำแฮมมมิลตัล" กว่า 200 ตัว ลักลอบ|date=23 September 2013|accessdate=15 May 2014|publisher=เรื่องเล่าเช้านี้}}</ref>
ซึ่งเต่าดำแฮมิลตัน เป็นสัตว์ที่มีรายชื่อห้ามซื้อขายใน[[อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์ ]] (CITES) และมีรายชื่อในพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่าของประเทศไทย ทำให้การซื้อขายกันในประเทศไทยถือเป็นสิ่งผิดกฎหมาย แต่ก็เป็นเต่าที่มีลักลอบนำเข้ามาจากต่างประเทศ คราวละมาก ๆ ในครั้งเดียวโดยเก็บซ่อนไว้ในกระเป๋าเดินทาง และถูกมัดด้วยถุงพลาสติกหรือสก๊อตเทป ทำให้เต่าส่วนมากอ่อนแอ สภาพร่างกายขนาดน้ำและอาหาร และทำให้มีสภาพใกล้ตายได้<ref>{{cite web|url=http://www.nonlen.com/news/9055/'%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%B2'%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%A2%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%84%E0%B9%89%E0%B8%B2...%E0%B8%A5%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%9C%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B8%B8%E0%B9%8C.html|title='เต่า'เหยื่อความเชื่อ ลักลอบค้า...ล่าล้างเผ่าพันธุ์ |date=17 December 2013|accessdate=15 May 2014|publisher=คมชัดลึก}}</ref>
 
ในประเทศไทย มีการเพาะขยายพันธุ์สำเร็จเป็นครั้งแรกที่[[สวนสัตว์ดุสิต]] โดยลูกเต่าได้ฟักออกจากไข่เป็นตัวเมื่อวันที่ 27 เมษายน ค.ศ. 2018 จำนวนทั้งสิ้น 10 ตัว จากไข่ทั้งหมด 11 ฟอง และเปิดให้บุคคลทั่วไปเข้าชมได้เมื่อต้นเดือนกรกฎาคม ปีเดียวกัน <ref>{{cite web|url=http://www.bangkokbiznews.com/news/detail/806794|work=[[กรุงเทพธุรกิจ]]|date=2018-07-05|accessdate=2018-07-06|title=สวนสัตว์ดุสิต ต้อนรับสมาชิกเกิดใหม่ 'ลูกเต่าบึงจุด'|first=ประเสริฐ|last= เทพศรี}}</ref>
 
==อ้างอิง==