ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เฉลิมชัย จารุวัสตร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
DMS WIKI (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 14:
| predecessor2 =
| successor2 =
| birth_date = พ.ศ. 2459
| birth_place =
| death_date = พ.ศ. 2552
| death_place =
| spouse = ทันตแพทย์หญิง ลัดดา จารุวัสตร์
บรรทัด 24:
| footnotes =
}}
'''พลเอก เฉลิมชัย จารุวัสตร์''' เป็นอดีตรองประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีต[[รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี]] ในรัฐบาลของพลเอก [[เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์]] อดีตผู้อำนวยการ[[การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย|องค์การส่งเสริมการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย]] คนแรก และเป็นผู้ก่อตั้ง[[สยามพิวรรธน์|บริษัท สยามพิวรรธน์ จำกัด]]
 
== ประวัติ ==
พลเอก เฉลิมชัย จารุวัสตร์ จบการศึกษาชั้นมัธยมปีที่ 7 จาก[[โรงเรียนมัธยมวัดเทพศิรินทร์]] กรุงเทพมหานคร จบการศึกษาจาก[[โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า]] รุ่นที่ 2 ผ่านการศึกษาจาก[[โรงเรียนเสนาธิการทหารบก]] รุ่นที่ 27 และโรงเรียนเสนาธิการทหารบก ประเทศอังกฤษ ในปี พ.ศ. 2492 และหลักสูตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 4
 
พลเอก เฉลิมชัย ได้รับปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขายุทธศาสตร์การพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร เมื่อปี พ.ศ. 2537
 
พลเอก เฉลิมชัย จารุวัสตร์ สมรสกับทันตแพทย์หญิง ลัดดา จารุวัสตร์ มีบุตรธิดา 3 คน คือ<ref>[https://www.thairath.co.th/person/4363 ประวัติชฎาทิพ จูตระกูล ข้อมูลล่าสุดของชฎาทิพ จูตระกูล]</ref>
* ชาญชัย จารุวัสตร์ สมรสกับ คอนสตันย์ มา
เส้น 33 ⟶ 37:
 
== การทำงาน ==
=== ราชการทหาร ===
พลเอก เฉลิมชัย จารุวัสตร์ เป็นผู้ก่อตั้ง[[สยามพิวรรธน์|บริษัท สยามพิวรรธน์ จำกัด]] บริษัทธุรกิจค้าปลีกและพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในประเทศไทย ในขณะนั้นใช้ชื่อว่า "บางกอกอินเตอร์คอนติเนนตอล โฮเต็ลส"<ref>[http://www.siampiwat.com/th/group/milestones]</ref> เมื่อปี พ.ศ. 2502
พลเอก เฉลิมชัย จารุวัสตร์ เข้ารับราชการใน[[กองทัพบกไทย]] ในปี พ.ศ. 2483 ยศว่าที่ร้อยตรี จนได้รับพระราชทานยศพลโท ในปี พ.ศ. 2505 และลาออกจากราชการทหาร ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2517 ในระหว่างรับราชการทหารเขาเคยเป็นนายทหารคนสนิทของ[[เนตร เขมะโยธิน|พลตรี เนตร เขมะโยธิน]] (ยศในขณะนั้น) และเคยเป็นอาจารย์ใหญ่โรงเรียนเสนาธิการทหารบก
 
=== งานธุรกิจ ===
พลเอก เฉลิมชัย จารุวัสตร์ เป็นผู้ก่อตั้ง[[สยามพิวรรธน์|บริษัท สยามพิวรรธน์ จำกัด]] บริษัทธุรกิจค้าปลีกและพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในประเทศไทย ในขณะนั้นใช้ชื่อว่า "บางกอกอินเตอร์คอนติเนนตอล โฮเต็ลส"<ref>[http://www.siampiwat.com/th/group/milestones]</ref> เมื่อปี พ.ศ. 2502
 
=== งานการเมือง ===
ในปี พ.ศ. 2511 พลเอก เฉลิมชัย ได้รับแต่งตั้งเป็น[[วุฒิสภาไทย ชุดที่ 3|สมาชิกวุฒิสภา]]<ref>[http://www.senate.go.th/inforcenter/documents/list_senate3.pdf รายชื่อสมาชิกวุฒิสภาชุดที่ ๓]</ref> จนถึงปี พ.ศ. 2514 ต่อมาได้รับแต่งตั้งเป็นสมาชิก[[สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516|สภานิติบัญญัติแห่งชาติ]] ในปี พ.ศ. 2516<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2516/A/171/1.PDF พระบรมราชโองการ แต่งตั้งสมาชิกสภานิติบัญญํติแห่งชาติ]</ref> จนถึงปี พ.ศ. 2518
 
เส้น 57 ⟶ 66:
[[หมวดหมู่:รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีไทย]]
[[หมวดหมู่:รองประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากโรงเรียนเทพศิรินทร์]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร]]
[[หมวดหมู่:ผู้ได้รับปริญญากิตติมศักดิ์จากมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร]]
[[หมวดหมู่:สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ป.ช.]]
[[หมวดหมู่:สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ว.ม.]]