ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 36"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
'''[[คณะรัฐมนตรี]]''' คณะที่ 36 ของไทย (14 มีนาคม พ.ศ. 2518 - 12 มกราคม พ.ศ. 2519)
 
[[คึกฤทธิ์ ปราโมช|หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช]] เป็น[[นายกรัฐมนตรี]] ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2518 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระประมาภิไธยในประกาศ
 
นาย[[ประสิทธิ์ กาญจนวัฒน์]] ประธานรัฐสภา เป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ
 
ม.ร.ว. [[หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช]] หัวหน้า[[พรรคกิจสังคม]] มีสภาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัดเพียง 18 เสียง แต่ได้รับการเลือกตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี เนื่องจากได้รับความไว้วางใจจาก สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ให้เป็นผู้จัดตั้งรัฐบาล
เพราะได้รับความไว้วางใจจาก สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ให้เป็นผู้จัดตั้งรัฐบาล
 
รัฐบาล ม.ร.ว. ของหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช เกิดจากการรวมตัวของพรรคการเมืองหลายพรรค ได้แก่ พรรคกิจสังคม พรรคไท พรรคพลังประชาชน และพรรคอื่นๆ มีชื่อเรียกรัฐบาลในสมัยนั้นว่า "รัฐบาลสหพรรค"
และพรรคอื่นๆ มีชื่อเรียกรัฐบาลในสมัยนั้นว่า "รัฐบาลสหพรรค"
 
== รายชื่อคณะรัฐมนตรีคณะที่ 36 ของไทย ==
เส้น 45 ⟶ 43:
 
== การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรี ==
ผลการซาวลงมติออกเสียงเพื่อเลือกนายกรัฐมนตรี ในวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2518 ผลปรากฏว่า หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ได้รับเลือกให้เป็นนายกรัฐมนตรี โดยได้คะแนน 135 คะแนน และพันเอก [[สมคิด ศรีสังคม]] ได้ 59 คน งดออกเสียง 88 คน
 
== การปรับคณะรัฐมนตรี ==
 
คณะรัฐมนตรีมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง ดังนี้ คือ
* วันที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2518 นาย[[ไชยศิริ เรืองกาญจนเศรษฐ์]] เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์
* วันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2519 มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2519/A/004/1.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ รัฐมนตรีลาออก ให้รัฐมนตรีพ้นจากตำแหน่งและตั้งรัฐมนตรี (พ้นจากตำแหน่ง ๖ ราย และแต่งตั้ง ๑๕ ราย)]</ref>
# นายใหญ่ ศวิตชาต พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
เส้น 64 ⟶ 62:
# นายประชุม รัตนเพียร พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และตั้งให้เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
# นายสวัสดิ์ คำประกอบ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข
# นาย[[ประภัทรพงศ์ เวชชาชีวะ]] เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง
# นายประเทือง คำประกอบ เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ
# นาย[[บุญส่ง สมใจ]] เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
# นายอนันต์ ฉายแสง พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม และตั้งให้เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข
# นาย[[ประทวน รมยานนท์]] เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม
# นาย[[ธเนตร เอียสกุล]] เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์
# นายปัญจะ เกสรทอง เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
# นาย[[แสวง พิบูลย์สราวุธ]] เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
# นาย[[วัฒนา อัศวเหม]] เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
* วันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2519 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2519/A/031/15.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ ให้รัฐมนตรีพ้นจากตำแหน่ง และรัฐมนตรีลาออก (๑. นายทวิช กลิ่นประทุม ๒. นายบุญส่ง สมใจ ๓. นายอนันต์ ฉายแสง)]</ref>
# นายทวิช กลิ่นประทุม พ้นจากตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เส้น 93 ⟶ 91:
 
== การสิ้นสุดของคณะรัฐมนตรีคณะที่ 36 ของไทย ==
คณะรัฐมนตรีคณะนี้สิ้นสุดลง เนื่องจากมีพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร ตามความในมาตรา 187 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย โดยที่มีพรรคร่วมรัฐบาลหลายพรรคทำให้รัฐบาลไม่มีเสถียรภาพมั่นคงเพียงพอ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช จึงประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎร และกำหนดการเลือกตั้งในวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2519
โดยที่มีพรรคร่วมรัฐบาลหลายพรรคทำให้รัฐบาลไม่มีเสถียรภาพมั่นคงเพียงพอ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช จึงประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎร และกำหนดการเลือกตั้งในวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2519
 
คณะรัฐมนตรีซึ่งมี ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช เป็นนายกรัฐมนตรี จึงพ้นจากตำแหน่งไป แต่ต้องรักษาการจนกว่าคณะรัฐมนตรีชุดใหม่จะเข้ามาทำหน้าที่ ในวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2519