ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สหภาพโซเวียต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 103:
| calling_code = 7
}}
'''สหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต''' ({{lang-ru|Сою́з Сове́тских Социалисти́ческих Респу́блик - CCCP}}; {{lang-en|Union of Soviet Socialist Republics - USSR}}) หรือย่อเป็น '''สหภาพโซเวียต''' ({{lang-en|Soviet Union}}) เป็นประเทศ[[อภิมหาอำนาจ]]ในอดีตบน[[ทวีปยูเรเชีย]] ระหว่างปี ค.ศ. 1922 ถึง 1991 รัฐบาลและเศรษฐกิจของสหภาพโซเวียตถูกรวมอยู่ในระดับสูง สหภาพโซเวียตเป็น[[รัฐพรรคการเมืองเดียว]]ซึ่งปกครองโดย[[พรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต|พรรคคอมมิวนิสต์]]โดยมีกรุง[[มอสโก]]เป็นเมืองหลวงของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุด [[สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย]] มีสถานะที่เท่าเทียมกันในรัฐธรรมนูญเช่นกันกับสาธารณรัฐสหภาพ แต่ในความเป็นจริงเป็นเพียงการปกครองโดยพฤตินัย<ref name="Smith1976">{{Harvnb|Smith|1976}}.</ref> สหภาพโซเวียตยังเมืองสำคัญอื่น ๆ ได้แก่นคร[[เลนินกราด]], [[เคียฟ|คีฟ]], [[มินสค์]], [[อัลมา-อะตา]] และ [[โนโวซีบีสค์]] สหภาพโซเวียตยังเป็นหนึ่งในห้ารัฐที่มีอาวุธนิวเคลียร์อยู่ในครอบครอง<ref name=fas>{{cite web|title=Status of Nuclear Powers and Their Nuclear Capabilities|publisher=Federation of American Scientists|url=https://fas.org/nuke/guide/summary.htm |date=March 2008 |accessdate=19 March 2014}}</ref>, เป็นสมาชิกถาวรถาวรของ[[คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ]] และเป็นสมาชิกของ[[องค์การความมั่นคงและความร่วมมือในยุโรป]] และเป็นสมาชิกหลักของ[[สภาเพื่อความช่วยเหลือซึ่งกันและกันทางเศรษฐกิจ]] และ [[กติกาสัญญาสนธิสัญญาวอร์ซอ|สนธิสัญญาแห่งไมตรี ความร่วมมือ และการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน]] หรือ สนธิสัญญาวอร์ซอ
 
สหภาพโซเวียตมีรากฐานจาก[[การปฏิวัติเดือนตุลาคม]]ในปี 1917 เมื่อพรรค[[บอลเชวิค]] ภายใต้การนำของ[[วลาดีมีร์ เลนิน]] โค้นล้ม[[รัฐบาลชั่วคราวรัสเซีย]]ที่ซึ่งได้เข้ามาแทนที่[[จักรพรรดินิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย|จักรพรรดินีโคไลที่นีโคลัสที่ 2]] ในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]] ในปี 1922 สหภาพโซเวียตก่อตั้งขึ้นด้วยการรวมกันของ [[สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย|สาธารณรัฐรัสเซีย]], [[สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทรานส์คอเคซัส|ทรานส์คอเคซัส]], [[สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน|ยูเครน]] และ [[สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซีย|เบียโลรัสเซีย]] หลังจากการอสัญกรรมของเลนิน ค.ศ. 1924 และการต่อสู้แย่งชิงอำนาจในระยะเวลาสั้น ๆ [[โจเซฟ สตาลิน]]เถลิงอำนาจในกลางคริสต์ทศวรรษ 1920 สตาลินปราบปรามฝ่ายค้านการเมืองต่อเขา ยึดมั่นอุดมการณ์ของรัฐกับลัทธิมากซ์–เลนิน (ซึ่งเขาสร้าง) และริเริ่มเศรษฐกิจที่มีการวางแผนจากส่วนกลาง ผลคือ ประเทศเข้าสู่สมัยการปรับให้เป็นอุตสาหกรรมและการทำให้เป็นระบบรวมอำนาจการผลิต (collectivisation) ทว่า สตาลินเกิดหวาดระแวงทางการเมือง และ[[การกวาดล้างใหญ่|เริ่มการจับกุมตามอำเภอใจขนานใหญ่]] ซึ่งต่อมาทางการส่งคนจำนวนมาก (ผู้นำทหาร สมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์ พลเมืองสามัญ) ไปค่ายแรงงานดัดสันดานหรือตัดสินประหารชีวิต
 
เมื่อเริ่ม[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] หลังสหราชอาณาจักรและฝรั่งเศสปฏิเสธพันธมิตรกับสหภาพโซเวียตต่อ[[นาซีเยอรมนี]] สหภาพโซเวียตลงนามใน[[สนธิสัญญาโมโลตอฟ-ริบเบนทรอพ|สนธิสัญญาไม่รุกรานกับเยอรมนี]] ซึ่งชะลอการเผชิญหน้าระหว่างสองประเทศ แต่ถูกฉีกใน ค.ศ. 1941 เมื่อนาซีบุกครอง เปิดฉาก[[แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)|เขตสงครามใหญ่สุดและมีผู้เสียชีวิตมากที่สุดในประวัติศาสตร์]] กำลังพลสูญเสียของโซเวียตในสงครามคิดเป็นสัดส่วนมากที่สุดของสงครามโลกครั้งที่สอง แต่พลิกกลับมาได้เปรียบเหนือฝ่ายอักษะในยุทธการอันดุเดือดอย่าง[[ยุทธการที่สตาลินกราด|สตาลินกราด]] สุดท้ายกำลังโซเวียตยกผ่านยุโรปตะวันออกและยึดกรุง[[เบอร์ลิน]]ใน ค.ศ. 1945 ทำให้ฝ่ายเยอรมันสูญเสียกำลังพลไปเป็นส่วนใหญ่ ดินแดนยึดครองของโซเวียตที่พิชิตจากกำลังอักษะในยุโรปกลางและตะวันออกกลายเป็น[[รัฐบริวาร]]ของ[[กลุ่มตะวันออก]] ความแตกต่างทางอุดมการณ์และการเมืองกับกลุ่มตะวันตกซึ่งมีสหรัฐอเมริกาเป็นผู้นำนำไปสู่การตั้ง[[โคเมคอน|สนธิสัญญาทางเศรษฐกิจ]]และ[[สนธิสัญญาวอร์ซอ|ทางทหาร]]จนลงเอยด้วย[[สงครามเย็น]]อันยืดเยื้อ
 
หลังสตาลินถึงแก่อสัญกรรมใน ค.ศ. 1953 เกิดสมัยการปรับให้เสรี (liberalization) ทางสังคมและเศรษฐกิจสายกลางภายใต้รัฐบาล[[นีกีตา ครุชชอฟ]] จากนั้น สหภาพโซเวียตริเริ่มความสำเร็จทางเทคโนโลยีสำคัญในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ซึ่งรวมการปล่อย[[สปุตนิก 1|ดาวเทียมดวงแรก]]และ[[วอสตอค 1|เที่ยวบินอวกาศของมนุษย์เที่ยวแรกของโลก]] นำไปสู่[[Space Race|การแข่งขันด้านอวกาศ]] (Space Race) [[วิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา ค.ศ. 1962]] เป็นสมัยความตึงเครียดสุดขีดระหว่างสองอภิมหาอำนาจ ถือว่าใกล้ต่อการเผชิญหน้านิวเคลียร์ระหว่างทั้งสองที่สุด ในคริสต์ทศวรรษ 1970 [[ยุคแห่งการผ่อนคลายความตึงเครียด|เกิดการผ่อนคลายความสัมพันธ์]] แต่กลับมาตึงเครียดอีกครั้งเมื่อสหภาพโซเวียต[[สงครามโซเวียต–อัฟกานิสถาน|เริ่มให้ความช่วยเหลือทางทหารในอัฟกานิสถาน]]ด้วยคำขอของรัฐบาลสังคมนิยมใหม่ใน ค.ศ. 1979 การทัพนั้นผลาญทรัพยากรธรรมชาติและลากยาวโดยไร้ผลลัพธ์ทางการเมืองที่มีความหมายใด ๆ
บรรทัด 123:
[[ไฟล์:LeninEnSuizaMarzo1916--barbaroussovietr00mcbr.png|thumb|170px|[[วลาดิมีร์ เลนิน]]ผู้นำ[[การปฏิวัติรัสเซีย ค.ศ. 1917]]]]
 
สหภาพโซเวียตถูกก่อตั้งมาจากการยึดอำนาจของพรรคบอลเชวิก นำโดย[[วลาดิมีร์ เลนิน]] โดยยึดอำนาจจาก[[จักรพรรดินิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย|จักรพรรดินิโคลัสที่ 2 ]] เรียกการปฏิวัติครั้งนั้นว่า[[การปฏิวัติรัสเซีย ค.ศ. 1917]] เกิดขึ้นในวันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2460 ซึ่งอยู่ในระหว่าง[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]] การปฏิวัติครั้งนั้นส่งผลให้ รัฐบาลของกษัตริย์ถูกยกเลิก ระบอบการปกครองโดยกษัตริย์ถูกยกเลิก ก่อเกิดรัฐสังคมนิยมขึ้นมาแทน และเกิดเหตุการณ์สังหารหมู่[[ราชวงศ์โรมานอฟ]]ในเวลาต่อมา ผลอื่นๆคือ กิจการธนาคารและโรงงานทั้งหมดถูกโอนเป็นของรัฐ และบัญชีส่วนบุคคลทั้งหมดถูกโอนให้แก่รัฐ และสหภาพโซเวียตถอนตัวออกจาก[[สงครามโลกครั้งที่ 1]]
 
=== ยุคสตาลิน (ค.ศ. 1922-1953) ===
บรรทัด 141:
[[สตาลิน]] ถึงแก่อสัญกรรมในวันที่ 5 มีนาคม ค.ศ. 1953 โดยไม่มีการแต่งตั้งทายาททางการเมือง [[นีกีตา ครุชชอฟ]] ได้รับเลือกตั้งขึ้นเป็นเลขานุการคนที่ 1 ของ [[พรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต]] (Communist Party of the Soviet Union) ซึ่งเปรียบเสมือนตำแหน่งผู้นำของประเทศ หลังจากนั้นในปี ค.ศ. 1956 เขาก็ทำให้โลกตะลึงด้วยการด้วยการประณามความเลวร้ายของสตาลิน ผู้ทำการปฏิวัติระบบ[[นารวม]] (Commune) ให้ทรัพย์สินของทุกคนเป็นของส่วนรวม และนำสหภาพโซเวียตทำ [[สงครามเย็น]] กับสหรัฐอเมริกา
 
ในช่วงปลายของ ค.ศ. 1950 เกิด[[ความแตกแยกระหว่างจีน–จีน-โซเวียต]] ในเรื่องของอุดมการณ์ของคอมมิวนิสต์ เนื่องจากจีน โดย [[เหมา เจ๋อตง]] ไม่เห็นด้วยกับการยอมรับระบบทุนของโซเวียต และเห็นว่าควรรักษาแนวคิดระบบ[[นารวม]]เอาไว้ การแตกแยกครั้งนี้ส่งผลให้ [[แอลบาเนีย]] [[กัมพูชา]] และ [[โซมาเลีย]] เลือกที่จะเป็นพันธมิตรกับจีนแทนโซเวียต
 
ในช่วงเวลานี้ของสหภาพโซเวียตดำเนินความพยายามอย่างต่อเนื่องในการหาประโยชน์ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยเปิดตัวดาวเทียมเทียมดวงแรกของโลก [[ดาวเทียมสปุตนิก 1|สปุตนิก 1]] ส่งสุนัข[[ไลก้า]]ขึ้นสู่อวกาศ มนุษย์คนแรกของโลกที่ขึ้นสู่อวกาศคือ [[ยูริ กาการิน]] ในปี ค.ศ. 1963 ส่งผู้หญิงคนแรกของโลกขึ้นสู่อวกาศคือ [[วาเลนตีนา เตเรชโควา]] ในปี ค.ศ. 1965 ส่ง [[อเล็กซี ลีโอนอฟ]] มนุษย์คนแรกที่เดินในอวกาศ รวมทั้งส่งโรเวอร์คันแรกไปยังดวงจันทร์ ได้แก่ Lunokhod 1 และ Lunokhod 2
บรรทัด 306:
=== การคมนาคม และ โทรคมนาคม ===
==== คมนาคม ====
[[ไฟล์:Aeroflot Tu-104B CCCP-42403 LBG 1974-8-2.png|thumb|เครื่องบิน ตู-104 B ขององค์กรการบิน แอโรฟลอต]]
การขนส่งทางรถไฟโซเวียตเป็นที่ใหญ่ที่สุดและใช้มากที่สุดในโลก;<ref name="twocerofive">Wilson 1983, p. 205.</ref> พัฒนาดีกว่าโลกตะวันตกมาก<ref>Wilson 1983, p. 201.</ref>ในช่วงปลายปี 1970 และต้นปี 1980 นักเศรษฐศาสตร์โซเวียตถูกเรียกร้องให้มีการก่อสร้างถนนมากขึ้นเพื่อบรรเทาบางส่วนของภาระจากทางรถไฟและการปรับปรุงงบประมาณของรัฐโซเวียต<ref>Ambler, Shaw and Symons 1985, p. 166–67.</ref>เครือข่ายถนนและอุตสาหกรรมยานยนต์<ref>Ambler, Shaw and Symons 1985, p. 168.</ref>ยังคงด้อยพัฒนา<ref>Ambler, Shaw and Symons 1985, p. 165.</ref>และมีถนนลูกรังนอกเมืองใหญ่จำนวนมาก<ref name="Ambler 1985, p. 167">Ambler, Shaw and Symons 1985, p. 167.</ref>โครงการบำรุงรักษาโซเวียตพิสูจน์แล้วว่าไม่สามารถที่จะดูแลถนนได้ โดยในช่วงต้นถึงกลางทศวรรษที่ 1980, เจ้าหน้าที่ของสหภาพโซเวียตพยายามที่จะแก้ปัญหาท้องถนนด้วยการสั่งการก่อสร้างใหม่.<ref name="Ambler 1985, p. 167"/>ในขณะที่อุตสาหกรรมยานยนต์มีการเติบโตในอัตราที่เร็วกว่าการก่อสร้างถนน<ref>Ambler, Shaw and Symons 1985, p. 169.</ref>เครือข่ายถนนด้อยพัฒนานำไปสู่ความต้องการที่เพิ่มขึ้นสำหรับการขนส่งสาธารณะ. <ref>[[International Monetary Fund]] and [[Organisation for Economic Co-operation and Development]] 1991, p. 56.</ref>
 
บรรทัด 321:
อะนาโตลี ลูนาชาร์สกี กลายเป็นผู้ก่อตั้งกรมเพื่อการศึกษาโซเวียต ที่จุดเริ่มต้นเจ้าหน้าที่ของโซเวียตให้ความสำคัญในการรู้หนังสือ คนที่มีความรู้ได้รับการว่าจ้างโดยอัตโนมัติขณะที่ครู สำหรับช่วงเวลาสั้น ๆ ให้นักเรียนมีคุณภาพ 1940 [[สตาลิน]]จะประกาศว่าการไม่รู้หนังสือไม่มีในสหภาพโซเวียต ตลอดช่วงทศวรรษที่ 1930 การเคลื่อนไหวทางสังคมเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วซึ่งได้รับการปฏิรูปการศึกษาในสหภาพโซเวียต<ref>[[Sheila Fitzpatrick]], ''[http://www.cambridge.org/us/academic/subjects/history/twentieth-century-european-history/education-and-social-mobility-soviet-union-19211934 Education and Social Mobility in the Soviet Union 1921–1934]'', [[Cambridge University Press]] (16 May 2002), ISBN 0521894239</ref> ในผลพวงของ[[สงครามโลกครั้งที่สอง|สงครามรักชาติที่ยิ่งใหญ่]], ระบบการศึกษาของประเทศที่ขยายตัวขึ้นอย่างรวดเร็ว การขยายตัวนี้มีผลอย่างมาก ในปี 1960 เด็กในสหภาพโซเวียตเกือบทั้งหมดมีการเข้าถึงการศึกษายกเว้นเพียงเป็นผู้ที่อยู่ในพื้นห่างไกล นีกีตา ครุชชอฟ พยายามที่จะทำให้การศึกษาเข้าถึงมากขึ้นทำให้มันชัดเจนกับเด็กว่าการศึกษาที่เชื่อมโยงอย่างใกล้ชิดกับความต้องการของสังคม การศึกษาก็กลายเป็นสิ่งสำคัญในการเกิดโซเวียตรุ่นใหม่<ref>{{cite book |last=Law |first=David A. |title=Russian Civilization |publisher=Ardent Media |year=1975 |pages=300–1 |url= http://books.google.com/books?id=f3ky9qBavl4C&dq |isbn=0-8422-0529-2}}</ref>
 
=== สาธารณสุข ===
[[ไฟล์:RussianAbortionPoster.jpg|thumb|200px|ผู้โพสต์ยุคโซเวียตยุคแรก ๆ ไม่สนใจการทำแท้งที่ไม่ปลอดภัย]]
ก่อน เลโอนิด เบรจเนฟ ขึ้นมาเป็นรัฐมนตรีกระทรวงสาธารณสุขโซเวียต ได้มีความนิยมผู้เชี่ยวชาญจากต่างประเทศเป็นจำนวนมาก<ref>Lane 1992, p. 352.</ref> รัฐมนตรีกระทรวงสาธารณสุข Yevgeny Chazov กับ รัฐสภาพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียตในขณะได้ให้ความสำคัญทางการแพทย์ของโซเวียตส่วนใหญ่และพัฒนาโรงพยาบาลให้อยู่ในระดับสากล ได้มีการปรับปรุงระบบใหม่เป็นเงิน หลายพันล้านรูเบิลโซเวียต<ref>Lane 1992, p. 352–53.</ref> <!-- Billions in the previous line was prior milliard, but was changed according to [[WP:MOSNUM]]. Don't be fooled by the surrounding British English. I checked the rest of the article: All other named numbers were either "million" (same on both scales) or "trillion USD", where a value of $10^18 is completely implausible. -->
 
== ประชากร ==
=== เชื้อชาติ ===
สหภาพโซเวียตเป็นประเทศที่มีความหลากหลายเชื้อชาติมากที่มีมากกว่า 100 กลุ่มชาติพันธุ์ที่แตกต่างกันประชากรทั้งหมดของอยู่ที่ประมาณ 293 ล้านคนในปี 1991 ตามประมาณการ 1990 ส่วนใหญ่เป็น[[ชาวรัสเซีย]] 50.78% ตามด้วย [[ชาวยูเคลน]] 15.45% และ [[ชาวอุซเบกิ]] 5.84%<ref name="cia">{{cite web |url=http://www.theodora.com/wfb1991/soviet_union/soviet_union_people.html |title=Soviet Union – People |author=Central Intelligence Agency | work=[[The World Factbook]] |year=1991 |accessdate=25 October 2010 |authorlink= Central Intelligence Agency}}</ref>
 
=== ภาษา ===
ภาษาที่พูดอย่างกว้างขวางที่สุดแห่งสหภาพโซเวียตคือ ภาษารัสเซีย สันนิษฐานว่าภาษาประจำชาติอย่างเป็นทางการใน 1990
=== ศาสนา ===
จากการสำรวจในยุคสมัย[[จักรวรรดิรัสเซีย]] [[ศาสนาคริสต์ศาสนา]]มีผู้นับถือมากที่สุด ส่วนผู้นับถือ[[ศาสนาอิสลาม]]และ[[ศาสนาพุทธ]]จะอยู่แถบ[[เอเชียกลาง]]และดินแดนที่ติดแถบ[[ตะวันออกกลาง]] และส่วนน้อยนับถือ[[ศาสนายูดาห์]]และลัทธิอื่นๆ
 
ในสมัยจักรวรรดิรัสเซียคริสต์ศาสนจักรออร์โธด็อกซ์มีอำนาจเหนือทุกศาสนารวมถึง ศาสนาคริสต์นิกาย[[โรมันคาทอลิก]]และนิกาย[[โปรเตสแตนต์]] ใน[[ประวัติศาสตร์รัสเซีย]]พบว่าศาสนาอิสลามและผู้ที่นับถือโดนกดขี่จาก[[ราชวงศ์โรมานอฟ]]และ[[รายพระนามผู้ปกครองรัสเซีย|ราชวงศ์รัสเซีย]]มาโดยตลอด เช่น การเลือกปฏิบัติ การห้ามครอบครองทาสที่เป็นชาวคริสต์และชาวสลาฟ การห้ามเข้าเมืองหลวงและพระราชวัง และห้ามแต่งงานหรือมีบุตรกับชาวคริสต์ และกฎหมายการตั้งมัสยิดต้องได้รับอนุญาตจากรัฐบาล
เส้น 338 ⟶ 337:
ยุคสมัยแรกสหภาพโซเวียต นำโดย [[วลาดีมีร์ เลนิน]] ได้พยายามกวาดล้างทุกศาสนา รวมถึงศาสนาคริสต์ และมีการทำลายโบสถ์ วัด มัสยิด สุเหร่า ยกเว้นโบสถ์วิหารที่สำคัญ หลายแห่งทั่วโซเวียตเพื่อปลูกฝังแนวคิดแบบลัทธิคอมมิวนิสต์
 
เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 ขยายมาถึงดินแดนโซเวียต [[โจเซฟ สตาลิน]] ผู้นำโซเวียตได้สั่งให้ทำการบูรณะและสร้างโบสถ์ขึ้นใหม่ที่ได้รับความเสียหายจากการกวาดล้างสมัยของ วลาดีมีร์ เลนิน และมีการจัดตั้งบาทหลวงใหม่และส่งไปยังโบสถ์ทั่วประเทศเพื่อปลุกระดมขวัญกำลังใจและสิ่งยึดเหนี่ยวของประชาชนในการเผชิญหน้าต่อสู้กับ[[นาซีเยอรมนี|กองทัพนาซี]]<ref>https://en.wikipedia.org/wiki/Soviet_Union_in_World_War_II</ref>
 
=== กีฬา ===
เส้น 381 ⟶ 380:
| [[1 พฤษภาคม]] || [[วันแรงงานสากล|วันแรงงานสากล (May Day)]] || Первое Мая - День Солидарности Трудящихся ("International Day of Worker's Solidarity") || มีการฉลองอย่างเป็นทางการตั้งแต่วันที่ 1 ถึง 2 พฤษภาคม. หรืออาจเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "วันแรงงานและเฉลิมฉลองเข้าสู่ฤดูใบไม้พลิ"
|-
| [[9 พฤษภาคม]] || [[วันแห่งชัยชนะ (ยุโรปตะวันออก)|วันแห่งชัยชนะเหนือเยอรมนี]] || День Победы (Victory Day) || วันสิ้นสุดของ[[มหาสงครามของผู้รักชาติ]] ซึ่งกองทัพแดง,เอาชนะ[[นาซีเยอรมัน]]ใน[[สงครามโลกครั้งที่ 2]], [[พ.ศ. 2488]]
|-
| [[7 ตุลาคม]] || [[รัฐธรรมนูญแห่งสหภาพโซเวียต พ.ศ. 2520|วันรัฐธรรมนูญแห่งสหภาพโซเวียต]] || День Конституции СССР || เป็นวันที่ประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งสหภาพโซเวียต [[พ.ศ. 2520]] - เดิมก่อนหน้าวันได้ใช้วันที่ [[5 ธันวาคม]] เป็นวันรัฐธรรมนูญ