ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จังหวัดเชียงราย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ponpan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
| จังหวัด = เชียงราย
| seal = Seal Chiang Rai.png
| คำขวัญ = เหนือสุดในสยาม ชายแดนสามแผ่นดิน<br/>ถิ่นวัฒนธรรมล้านนา ล้ำค่าพระธาตุดอยตุง
| ชื่ออังกฤษ = Chiang Rai
| แผนที่ = Thailand Chiang Rai locator map.svg
บรรทัด 31:
}}
 
'''จังหวัดเชียงราย''' ({{lang-nod|[[ไฟล์:Lanna-Chiang_Rai.png|55px]]}} ''เจียงฮาย''; {{lang-my|[[ไฟล์:Burmese-Chiang_Rai.png|50px]]}}) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ใน[[ภาคเหนือ]]ตอนบนของ[[ประเทศไทย]] มีภูมิศาสตร์อยู่ทางเหนือสุดของประเทศ ที่ตั้งของเมืองมีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ตั้งแต่ยุคก่อตั้ง[[อาณาจักรล้านนา]] เช่น เมืองเงินยาง เมืองเชียงแสน เมืองเชียงราย <ref>ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ฉบับเชียงใหม่ ๗๐๐ ปี.{{ต้องการอ้างอิงเต็ม}}</ref> เมืองเชียงรายเป็นพื้นที่ดั้งเดิมของชาวไทยวน ปัจจุบันจังหวัดเชียงรายแบ่งการปกครองออกเป็น 18 อำเภอ มี[[น้ำแม่กก]] [[น้ำแม่อิง]] แม่น้ำรวก และ[[แม่น้ำโขง]] เป็นแม่น้ำสายสำคัญ ทำเลที่ตั้งของจังหวัดเชียงรายอยู่บริเวณรอยต่อระหว่าง 3 ประเทศ คือ ประเทศไทย [[ประเทศพม่า]] และ[[ประเทศลาว]] หรือรู้จักกันในนามของดินแดน[[สามเหลี่ยมทองคำ]] ซึ่งอดีตเป็นแหล่งผลิตฝิ่นที่สำคัญของโลก ปัจจุบัน จังหวัดเชียงรายได้รับความสนใจในฐานะประตูสู่พม่า ลาว และ[[จีน]]ตอนใต้<ref>เชียงรายประตูสู่จีนตอนใต้, กรุงเทพธุรกิจ, http://th.aectourismthai.com/tourismhub/1287</ref> ผ่าน[[ทางหลวงเอเชียสาย 2]] และ[[ทางหลวงเอเชียสาย 3]]
 
เมืองเชียงรายมีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เป็นที่ตั้งของ[[หิรัญนครเงินยางเชียงแสน]] ซึ่งเป็นนครหลวงก่อนการกำเนิดอาณาจักรล้านนา มี "[[คำเมือง]]" เป็นภาษาท้องถิ่น มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งด้านศิลปะ ประเพณีวัฒนธรรมที่มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์ในรูปแบบล้านนา ไทใหญ่ ไทเขิน และไทลื้อจากสิบสองปันนาผสมผสานกัน
บรรทัด 64:
 
'''การแบ่งพื้นที่บางส่วนตั้งเป็นจังหวัดพะเยา'''
เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2520 ได้แบ่งแยกพื้นที่บางส่วนทางตอนใต้ของจังหวัดจัดตั้งขึ้นเป็น[[จังหวัดพะเยา]]<ref>พระราชบัญญัติตั้งจังหวัดพะเยา พ.ศ. 2520, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 93 หน้า 1.http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2520/A/069/1.PDF</ref>
 
{| class="wikitable"
บรรทัด 70:
! แผนที่ !! ปีที่เปลี่ยนแปลง (พ.ศ.) !! การเปลี่ยนแปลง
|-
| [[ไฟล์:Chiang_Rai_2468.png| 150px]] ||2453-2468||แผนที่จังหวัดเชียงราย พ.ศ. 2453-2468
|-
| [[ไฟล์:Chiang_Rai_2469.png| 150px]]||2468|| การโอนพื้นที่อำเภอเมืองฝาง (สีแดง) จังหวัดเชียงราย ไปขึ้นกับ[[จังหวัดเชียงใหม่]]
|-
|[[ไฟล์:Chiang_Rai_2480.png| 150px]]||2479|| การโอนพื้นที่หมู่ที่ 7 ตำบลป่าตึง [[อำเภอเชียงแสน]] จังหวัดเชียงราย ในขณะนั้น (สีแดง) ไปขึ้นกับ[[จังหวัดเชียงใหม่]]
|-
|[[ไฟล์:Chiang_Rai_2495.png| 150px]] ||2495|| การโอนพื้นที่[[อำเภอปง]] [[จังหวัดน่าน]] '''ยกเว้น''' ตำบลสวด(สีเขียว) มาขึ้นกับจังหวัดเชียงราย และโอนตำบลสะเอียบ (สีส้ม) ไปขึ้นกับ[[อำเภอสอง]] [[จังหวัดแพร่]]
|-
|[[ไฟล์:Chiang Rai 2515.png| 150px]]||2515|| โอนหมู่บ้านหมู่ที่ 10 ตำบลควน [[อำเภอปง]] (สีฟ้า) จังหวัดเชียงราย ไปขึ้นตำบลป่าคา [[อำเภอท่าวังผา]] [[จังหวัดน่าน]] และโอนตำบลยอด (สีแดง) [[อำเภอปง]] จังหวัดเชียงราย ไปขึ้น[[อำเภอเชียงกลาง]] [[จังหวัดน่าน]]
|-
|[[ไฟล์:Chiang_Rai_2520.png| 150px]]||2520||การแบ่งพื้นที่ 7 อำเภอ ได้แก่ อำเภอพะเยา [[อำเภอแม่ใจ]] [[อำเภอดอกคำใต้]] [[อำเภอจุน]] [[อำเภอปง]] [[อำเภอเชียงม่วน]] และ[[อำเภอเชียงคำ]] ไปตั้งเป็น[[จังหวัดพะเยา]]
|}
 
== ภูมิศาสตร์ ==
=== ที่ตั้งและอาณาเขต ===
จังหวัดเชียงรายตั้งอยู่ตอนเหนือสุดของ[[ประเทศไทย]] อยู่ระหว่างเส้นรุ้งที่ 19 องศาเหนือ ถึง 20 องศา 30 ลิปดาเหนือ และเส้นแวงที่ 99 องศา 15 ลิปดา ถึง 100 องศา 45 ลิปดาตะวันออก
 
* ทิศเหนือ ติดต่อกับเมืองสาดและจังหวัดท่าขี้เหล็กของ[[รัฐชาน]] [[ประเทศพม่า]] และ[[แขวงบ่อแก้ว]] [[ประเทศลาว]]
* ทิศตะวันออก ติดต่อกับ[[แขวงอุดมไซ]] ประเทศลาว
* ทิศใต้ ติดต่อกับ[[อำเภอภูซาง]] [[อำเภอจุน]] [[อำเภอดอกคำใต้]] [[อำเภอภูกามยาว]] [[อำเภอแม่ใจ]] [[จังหวัดพะเยา]] [[อำเภอเมืองปาน]] [[อำเภอวังเหนือ]] [[จังหวัดลำปาง]] และ[[อำเภอดอยสะเก็ด]] [[จังหวัดเชียงใหม่]]
บรรทัด 99:
 
=== ภูมิอากาศ ===
จังหวัดเชียงรายมีอุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปีประมาณ 24 องศาเซลเซียส
''ฤดูร้อน'' เริ่มจากกลางเดือน(กุมภาพันธ์-กลางเดือนพฤษภาคม) มีอุณหภูมิเฉลียประมาณ 32 องศาเซลเซียส
''ฤดูฝน'' เริ่มจากกลางเดือน(พฤษภาคม-กลางเดือนตุลาคม) มีอุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 27 องศาเซลเซียส ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยปีละ 1,768 มิลลิเมตร มากที่สุดในปี 2544 จำนวน 2,287.60 มิลลิเมตรน้อยที่สุดในปี 2546 จำนวน 1,404.10 มิลลิเมตร จำนวนวันที่มีฝนตกเฉลี่ย 143 วันต่อปี
''ฤดูหนาว'' (พฤศจิกายน – กุมภาพันธ์) จังหวัดเชียงรายมีอุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 15.0 องศาเซลเซียส อุณหภูมิต่ำสุด 0.9 - 1.0 องศาเซลเซียส 2542 สภาพอากาศของจังหวัดเชียงราย ถือว่าหนาวจัดในพื้นที่ราบ อุณหภูมิจะอยู่ที่ 7-9 องศาเซลเซียส ส่วนบนยอดดอย อุณหภูมิต่ำสุดจะอยู่ที่ 0-5 องศาเซลเซียส อุณหภูมิ -1.5 องศาที่ภูชี้ฟ้า ปลายปี 2556 จึงทำให้อากาศที่เชียงรายในช่วงฤดูหนาว เป็นพื้นที่ๆ นักท่องเที่ยวอยากมาเป็นอย่างยิ่ง
{{Weather box
บรรทัด 196:
 
==== อุทยานแห่งชาติ ====
* [[อุทยานแห่งชาติดอยหลวง]] เนื้อที่ 731,250 ไร่ ครอบคลุมพื้นที่[[อำเภอพาน]] [[อำเภอแม่สรวย]] [[อำเภอเวียงป่าเป้า]] จังหวัดเชียงราย [[อำเภอแม่ใจ]] [[อำเภอเมืองพะเยา]] [[จังหวัดพะเยา]] [[อำเภอวังเหนือ]] และ [[อำเภองาว]] [[จังหวัดลำปาง]]
* อุทยานแห่งชาติลำน้ำกก มีเนื้อที่ 467,185 ไร่ ครอบคลุมพื้นที่[[อำเภอเมืองเชียงราย]] [[อำเภอแม่จัน]] [[อำเภอแม่ลาว]] [[อำเภอแม่สรวย]] จังหวัดเชียงราย
* [[อุทยานแห่งชาติแม่ปืม]] มีเนื้อที่ 227,312 ไร่ ครอบคลุมพื้นที่[[อำเภอเมืองเชียงราย]] [[อำเภอพาน]] [[อำเภอป่าแดด]] จังหวัดเชียงราย, [[อำเภอแม่ใจ]] [[อำเภอเมืองพะเยา]] [[อำเภอภูกามยาว]] [[จังหวัดพะเยา]]
* [[อุทยานแห่งชาติภูซาง]] เนื้อที่ 178,050 ไร่ ครอบคลุมพื้นที่[[อำเภอเทิง]] จังหวัดเชียงราย [[อำเภอเชียงคำ]]และ[[อำเภอภูซาง]] [[จังหวัดพะเยา]]
* [[อุทยานแห่งชาติขุนแจ]] มีเนื้อที่ 168,750 ไร่ ครอบคลุมพื้นที่[[อำเภอเวียงป่าเป้า]] จังหวัดเชียงราย
 
บรรทัด 274:
=== หน่วยการปกครอง ===
==== การปกครองส่วนภูมิภาค ====
การปกครองส่วนภูมิภาคแบ่งออกเป็นระดับอำเภอ จำนวน 18 [[อำเภอ]] ระดับตำบล จำนวน 124 [[ตำบล]] และระดับหมู่บ้าน จำนวน 1,751 [[หมู่บ้าน]] ได้แก่
{{อำเภอในจังหวัดเชียงราย|thumb|300px|right|แผนที่อำเภอในจังหวัดเชียงราย}}
{|class="wikitable"
บรรทัด 371:
! style="background: #dddddd; " align="center" | ระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง
|-
| align = "center"| 1
| align| พระยารัตนาณาเขต (เจ้าหลวงธรรมลังกา ตำแหน่งเจ้าเมือง)
| align = "left"| พ.ศ. 2386-2407
|-
| align = "center"| 2
| align| พระยารัตนาณาเขต (เจ้าหลวงอุ่นเรือน ตำแหน่งเจ้าเมือง)
| align = "left"| พ.ศ. 2407-2419
|-
| align = "center"| 3
| align| พระยารัตนาณาเขต (เจ้าหลวงสุริยะ ตำแหน่งเจ้าเมือง)
| align = "left"| พ.ศ. 2419-2433
|-
| align = "center"| 4
| align| พระยารัตนาณาเขต (เจ้าน้อยมหาไชย ตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด)
| align = "left"| พ.ศ. 2433-2442
|-
| align = "center"| 5
| align| พระพลอาษา
| align = "left"| พ.ศ. 2442-2445
|-
| align = "center"| 6
| align| หลวงอาษาภูธร
| align = "left"|พ.ศ. 2445-2446
|-
| align = "center"| 7
| align| พระยารามราชภักดี
| align = "left"| พ.ศ. 2447-2450
|-
| align = "center"| 8
| align| พระยาอุดรกิจพิจารณ์
| align = "left"| พ.ศ. 2450-2453
|-
| align = "center"| 9
| align| พระยารามราชเดช (ศุข ดิษยบุตร)
| align = "left"| พ.ศ. 2453-2458
|-
| align = "center"| 10
| align| พระราชยา (เจิม ปันยารชุน)
| align = "left"| พ.ศ. 2458-2460
|-
| align = "center"| 11
| align| พระยาราชดำรง (ผล ศรุตานนท์)
| align = "left"| พ.ศ. 2460-2479
|-
| align = "center"| 12
| align| พระพนมครานุรักษ์ (ฮกไถ่ พิศาลบุตร)
| align = "left"| พ.ศ. 2479-2482
|-
| align = "center"| 13
| align| พันตำรวจเอก พระยานรากรบริรักษ์
| align = "left"| พ.ศ. 2482-2485
|-
| align = "center"| 14
| align| หลวงรักษ์นราธร (โชค ชมธวัช)
| align = "left"| พ.ศ. 2485-2487
|-
| align = "center"| 15
| align| ขุนไตรกิตยานุกูล (อัมพร กิตยานุกุล)
| align = "left"| พ.ศ. 2487-2489
|-
| align = "center"| 16
| align| นายชลอ จารุจินดา
| align = "left"| พ.ศ. 2489-2490
|-
| align = "center"| 17
| align| ขุนวิสิฐอุดรการ (กรี วิสิฐอุดรการ)
| align = "left"| พ.ศ. 2490-2491
|-
| align = "center"| 18
| align| ขุนสนิทประชาราษฏร์
| align = "left"| พ.ศ. 2491-2491
|-
| align = "center"| 19
| align| [[ชลอ จารุจินดา|นายชลอ จารุจินดา]]
| align = "left"| พ.ศ. 2491-2492
|-
| align = "center"| 20
| align| พันตำรวจโทขุนวีรเดชกำแหง (ชม จารุสิทธิ์)
| align = "left"| พ.ศ. 2492-2493
|-
| align = "center"| 21
| align| พันตรีเล็ก ทองสุนทร
| align = "left"| พ.ศ. 2493-2497
|-
| align = "center"| 22
| align| พันเอกจำรูญ จำรูญรณสิทธิ์
| align = "left"| พ.ศ. 2497-2498
|-
| align = "center"| 23
| align| พันตำรวจเอกเลื่อน กฤษณามระ
| align = "left"| พ.ศ. 2498-2500
|-
| align = "center"| 24
| align| [[เนื่อง รายะนาค|พันตำรวจเอกเนื่อง รายะนาค]]
| align = "left"| พ.ศ. 2500-2501
|-
| align = "center"| 25
| align| [[เครือ สุวรรณสิงห์|นายเครือ สุวรรณสิงห์]]
| align = "left"| พ.ศ. 2501-2504
|-
| align = "center"| 26
| align| นาย[[ชูสง่า ไชยพันธุ์]] (ฤทธิประศาสน์)
| align = "left"| พ.ศ. 2504-2512
|-
| align = "center"| 27
| align| นายสิทธิ์ สงวนน้อย
| align = "left"| 20 พฤษภาคม 2512-30 เมษายน 2513
|-
| align = "center"| 28
| align| นายประหยัด สมานมิตร
| align = "left"| 1 พฤษภาคม 2513-20 กันยายน 2513
|-
| align = "center"| 29
| align| นายศรศักดิ์ สุวรรณเทศ
| align = "left"| 1 ตุลาคม 2513-30 กันยายน 2514
|-
| align = "center"| 30
| align| พลตรีวิทย์ นิ่มนวล
| align = "left"| 1 ตุลาคม 2514-30 กันยายน 2516
|-
| align = "center"| 31
| align| นายชุ่ม บุญเรือง
| align = "left"| 1 ตุลาคม 2516-27 สิงหาคม 2522]
|-
| align = "center"| 32
| align| นายศักดา อ้อพงษ์
| align = "left"| 1 ตุลาคม 2522-30 กรกฎาคม 2525
|-
| align = "center"| 33
| align| นายมนตรี ตระหง่าน
| align = "left"| 1 ตุลาคม 2525-30 กันยายน 2528
|-
| align = "center"| 34
| align| นายอร่าม เอี่ยมอรุณ
| align = "left"| 1 ตุลาคม 2528-30 กันยายน 2531
|-
| align = "center"| 35
| align| นายบรรณสิทธิ์ สลับแสง
| align = "left"| 1 ตุลาคม 2531-30 เมษายน 2534
|-
| align = "center"| 36
| align| นายคำรณ บุณเชิด
| align = "left"|1 ตุลาคม 2534-30 กันยายน 2539
|-
| align = "center"| 37
| align| นายวิจารณ์ ไชยนันทน์
| align = "left"| 1 ตุลาคม 2539-30 กันยายน 2542
|-
| align = "center"| 38
| align| นายสำเริง ปุณโยปกรณ์
| align = "left"| 1 ตุลาคม 2542-30 กันยายน 2544
|-
| align = "center"| 39
| align| นายรุ่งฤทธิ์ มกรพงศ์
| align = "left"| 1 ตุลาคม 2544-27 ตุลาคม 2545
|-
| align = "center"| 40
| align| นายนรินทร์ พานิชกิจ
| align = "left"| 28 ตุลาคม 2545-30 กันยายน 2547
|-
| align = "center"| 41
| align| นายวรเกียรติ สมสร้อย
| align = "left"|1 ตุลาคม 2547-28 กุมภาพันธ์ 2549
|-
| align = "center"| 42
| align| นายอุดม พัวสกุล
| align = "left"| 5 มิถุนายน 2549-30 กันยายน 2549
|-
| align = "center"| 43
| align| นายอมรพันธุ์ นิมานันท์
| align = "left"| 1 ตุลาคม 2549-30 กันยายน 2550
|-
| align = "center"| 44
| align| นายปรีชา กมลบุตร
| align = "left"| 1 ตุลาคม 2550-30 กันยายน 2551
|-
| align = "center"| 45
| align| นายไตรสิทธิ์ สินสมบูรณ์ทอง
| align = "left"| 1 พฤษภาคม 2551-31 มีนาคม 2552
|-
| align = "center"| 46
| align| นายสุเมธ แสงนิ่มนวล
| align = "left"| 1 เม.ย. 2552-30 กันยายน 2553
|-
| align = "center"| 47
| align| นายสมชัยฐ์ หทยะตันย์ติ
| align = "left"| 1 ตุลาคม 2553-30 กันยายน 2554
|-
| align = "center"| 48
| align| นายธานินทร์ สุภาแสน
| align = "left"| 1 ตุลาคม 2554-30 กันยายน 2555
|-
| align = "center"| 49
| align| นายพงษ์ศักดิ์ วังเสมอ
| align = "left"| 1 ตุลาคม 2555-30 กันยายน 2558
|-
| align = "center"| 50
| align| นายบุญส่ง เตชะมณีสถิตย์
| align = "left"| 1 ตุลาคม 2558-4 เมษายน 2560
บรรทัด 573:
| align = "center"| 51
| align| นายณรงค์ศักดิ์ โอสถธนากร
| align = "left"| 4 เมษายน 2560-ปัจจุบัน
|}
 
บรรทัด 591:
จังหวัดเชียงรายมีประชากรหลายเชื้อชาติ ทั้งชาวไทยพื้นราบ ชาวไทยภูเขา และชาวจีนฮ่อที่อพยพเข้ามาอาศัยอยู่บนดอยสูง แต่ละชนชาติจะมีประเพณี วัฒนธรรม และวิถีชีวิตที่มีเอกลักษณ์ เป็นเสน่ห์ห์อีกอย่างที่ทำให้เชียงรายได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ<ref>http://thai.tourismthailand.org/where-to-go/cities-guide/destination/chiang-rai</ref> ประชากรในเขตจังหวัดเชียงราย แบ่งออกได้เป็นหลายกลุ่ม อาทิ
 
* '''คนไทยพื้นราบ''' ประกอบด้วยชาวไทยวน ไทลื้อ ไทเขิน ไทใหญ่ ดังนี้
** [[ไทยวน]] หรือ[[คนเมือง]] เป็น[[ประชากร]]กลุ่มใหญ่ที่สุด
** [[ไทลื้อ]] [[ไทเขิน]] [[ไทใหญ่]] เป็นกลุ่มชนที่มีถิ่นฐานเดิมอยู่ในที่ราบลุ่มแม่น้ำโขง และทางตอนใต้ของจีน
* '''ชาวไทยภูเขา''' ประกอบด้วย [[อาข่า]] [[มูเซอ]] [[เย้า]] [[กะเหรี่ยง]] [[ลีซอ]] [[ม้ง]]
* '''ผู้พลัดถิ่นสัญชาติพม่า''' บุคคลหลายสัญชาติที่อพยพมาจากพม่าเข้าอยู่ในประเทศไทยก่อนวันที่ 9 มีนาคม 2519 การออกนอกเขตจังหวัดที่อยู่อาศัยต้องขออนุญาตจากปลัด[[กระทรวงมหาดไทย]]
บรรทัด 604:
* '''ปอยหลวง''' งานบุญปอยหลวงเป็นเอกลักษณ์ของชาวล้านนาซึ่งเป็นผลดีต่อสภาพทางสังคมหลายประการ นับตั้งแต่ชาวบ้านได้มาทำบุญร่วมกัน ร่วมกันจัดงานทำให้เกิดความสามัคคีในการทำงาน งานทำบุญปอยหลวงยังเป็นการรวมญาติพี่น้องที่อยู่ต่างถิ่นได้มีโอกาสทำบุญร่วมกัน และมีการสืบทอดประเพณีที่เคยปฏิบัติกันมาครั้งแต่บรรพชนไม่ให้สูญหายไปจากสังคม ช่วงเวลา จากเดือน 5 จนถึงเดือน 7 เหนือ (ตรงกับเดือนกุมภาพันธ์ ถึงเดือนเมษายนหรือเดือนพฤษภาคมของทุกปี) ระยะเวลาประมาณ 3-7 วัน
 
* '''ป๋าเวณี ปี๋ใหม่เมือง งานประเพณีสงกรานต์''' จัดขึ้นประมาณกลางเดือนเมษายน ในงานมีขบวนแห่และสรงน้ำพระเจ้าล้านทอง การแข่งเรือ และการละเล่นพื้นเมืองและมหรสพ จัดบริเวณตัวเมืองเชียงราย และอำเภอเชียงแสน
 
* '''งานเทศกาลลิ้นจี่และของดีเมืองเชียงราย''' เทศกาลที่ชาวเกษตรกรต่างนำผลผลิตทางการเกษตรของตนมาออกร้าน โดยเฉพาะลิ้นจี่ที่มีชื่อเสียงมากของเชียงราย จัดขึ้นประมาณกลางเดือนพฤษภาคมของทุกปี ภายในงานมีการประกวดขบวนรถและธิดาลิ้นจี่ และการออกร้าน บริเวณสนามกีฬากลางจังหวัดเชียงราย
 
* '''งานไหว้สาพญามังราย''' จัดให้มีพิธีบวงสรวงพญามังราย มีการออกร้าน จัดนิทรรศการของส่วนราชการและเอกชน และงานรื่นเริงอื่น ๆ จัดวันที่ 23 มกราคม-1 กุมภาพันธ์
 
* '''เป็งปุ๊ด''' หรือ '''เพ็ญพุธ''' เป็นประเพณีตักบาตรเที่ยงคืนค่อนรุ่งเข้าสู่วันเพ็ญขึ้น15 ค่ำที่ตรงกับวันพุธ ตามวัฒนธรรมและความเชื่อของบรรพบุรุษล้านนาไทย ที่เชื่อกันว่าพระอุปคุตซึ่งพระอรหันต์องค์หนึ่งแปลงกันยายนป็นสามเณรน้อยมาบิณฑบาตโปรดสัตว์โลกในยามเที่ยงคืน และชาวล้านนาในอดีตเชื่อว่าการทำบุญตักบาตรถวายพระอุปคุตในวันเป็งปุ๊ดก็จะได้ชื่อว่าเป็นผู้มีบุญ มีโชคลาภและร่ำรวย บังเกิดความเป็นสิริมงคลแก่ชีวิต โดยบรรพบุรุษชาวล้านนาเชื่อว่า ทุกคืนที่ย่างเข้าสู่วันพุธขึ้น 15 ค่ำ เป็นวันเป็งปุ๊ด และจะมีประชาชนชาวล้านนาจำนวนมากมารอเพื่อประกอบพิธีทำบุญตักบาตรพระภิกษุสามเณร
 
* '''งานอนุรักษ์มรดกไทยล้านนา''' จัดในเดือนเมษายน มีการจัดนิทรรศการและการแสดงแบบไทยล้านนา มีการสาธิตงานศิลปะ บริเวณหอวัฒนธรรมนิทัศน์ อำเภอเมือง
 
* '''งานประเพณีขึ้นพระธาตุดอยตุง''' จัดขึ้นในวันขึ้น 14-15 ค่ำ เดือนหกเหนือ หรือเดือนมีนาคม เป็นประเพณีของชาว ล้านนา รวมทั้งชาวไทยใหญ่ในพม่าที่ปฏิบัติสืบต่อกันมา โดยชาวบ้านและพระสงฆ์ จะเดินขึ้นพระธาตุในตอนกลางคืน เมื่อมาถึงก็จะพากันนมัสการองค์พระธาตุก่อน จากนั้นจึงหาพื้นที่ประกอบอาหารเพื่อตักบาตรในตอนเช้า หลังจากตักบาตรแล้วจะ ช่วยกันบูรณะบริเวณองค์พระธาตุ เมื่อถึงยามค่ำคืนก็มารวมกันที่ปะรำพิธีเพื่อฟังเทศน
บรรทัด 621:
 
=== ภาษา ===
* [[ภาษาพูด]] ใช้พูดจากันเรียกว่า [[คำเมือง]] เนื่องจากเชียงรายเคยเป็นเมืองร้างผู้คนนานเกือบร้อยปี ได้มีการฟื้นฟูบ้านเมืองขึ้นมาใหม่เมื่อประมาณ ปี พ.ศ. 2384 โดยได้เกณฑ์ราษฎรจากเชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง ตาก แพร่ น่าน อุตรดิตถ์ และชนเผ่าไตใหญ่ ไตลื้อ ไตยอง และไตขืน (เขิน) ซึ่งอพยพจาก[[เชียงตุง]] และ[[สิบสองปันนา]] รวมทั้งชาวลาวจากประเทศลาว ได้เข้ามาอาศัยอยู่รวมกัน ดังนั้นสำเนียงพูดของชาวเชียงรายจึงมีความหลากหลายทางสำเนียงในพื้นที่ต่างๆ
 
* [[ภาษาเขียน]] เชียงรายก็เช่นเดียวกันกับจังหวัดทางภาคเหนืออื่น ๆ คือมีภาษาเขียนที่เรียกว่าอักขระล้านนา หรือ[[ตัวเมือง]] อักษรล้านนามีวิวัฒนาการมาจากอักษรพราหมีของอินเดีย มีการจัดระบบของหลักภาษาคล้ายกับภาษาบาลี อักษรล้านนามีรูปทรงกลมป้อมคล้ายอักษรพม่าและมอญ แต่หลักการทางภาษาไม่เหมือนกัน
บรรทัด 645:
อำเภอเมืองเชียงรายเป็นที่ตั้งของศูนย์ราชการของจังหวัดเดิมมีพื้นที่ครอบคลุมลุ่มน้ำแม่กกส่วนใหญ่ (พื้นที่สีส้มในแผนที่ ในรูป 2) ต่อมาแยกเป็น [[อำเภอเวียงชัย]] และ[[อำเภอแม่ลาว]] และต่อมา[[อำเภอเวียงชัย]]ได้แยกพื้นที่บางส่วนเพื่อตั้งเป็น[[อำเภอเวียงเชียงรุ้ง]]ตามลำดับ
 
* ในปี พ.ศ. 2517 ได้มีการแบ่งพื้นที่ตำบลเวียงชัย ตำบลทุ่งก่อ และตำบลผางาม ออกจาก[[อำเภอเมืองเชียงราย]] เพื่อตั้งเป็นกิ่งอำเภอเวียงชัย (หมายเลข 3 และ 10 ในรูป 2)<ref>ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง แบ่งท้องที่อำเภอเชียงราย จังหวัดเชียงราย ตั้งเป็นกิ่งอำเภอเวียงชัย,ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 91 100 หน้า 2589. http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2517/D/100/2589.PDF</ref> และต่อมายกฐานะเป็น[[อำเภอเวียงชัย]]ในปี พ.ศ. 2522<ref>พระราชกฤษฎีกาตั้งอำเภอหนองกุงศรี อำเภอไทรงาม อำเภอบ้านฝาง อำเภออุบลรัตน์ อำเภอเวียงชัย อำเภอดอยเต่า อำเภอนิคมคำสร้อย อำเภอนาหว้า อำเภอเสิงสาง อำเภอศรีสาคร อำเภอบึงสามพัน อำเภอนาดูน อำเภอค้อวัง อำเภอโพธิ์ชัย อำเภอเมืองสรวง อำเภอปลวกแดง อำเภอยางชุมน้อย อำเภอกาบเชิง อำเภอสุวรรณคูหา และอำเภอกุดข้าวปุ้น พ.ศ. ๒๕๒๒,ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 96 42ก ฉบับพิเศษ หน้า 19. http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2522/A/042/19.PDF</ref>
 
* ในปี พ.ศ. 2536 มีการแบ่งพื้นที่ตำบลดงมะดะ ตำบลจอมหมอกแก้ว ตำบลโป่งแพร่ ตำบลป่าก่อดำ และตำบลบัวสลี ออกจาก[[อำเภอเมืองเชียงราย]]เพื่อตั้งเป็นกิ่งอำเภอแม่ลาว (หมายเลข 9 ในรูป 2)<ref>ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง แบ่งเขตท้องที่อำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย ตั้งเป็นกิ่งอำเภอแม่ลาว,ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 110 74 หน้า 19.http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2536/D/074/19.PDF</ref> และยกฐานะเป็น[[อำเภอแม่ลาว]]ในปี พ.ศ. 2539<ref>พระราชกฤษฎีกาตั้งอำเภอเหนือคลอง อำเภอนายายอาม อำเภอท่าตะเกียบ อำเภอขุนตาล อำเภอแม่ฟ้าหลวง อำเภอแม่ลาว อำเภอรัษฎา อำเภอพุทธมณฑล อำเภอวังน้ำเขียว อำเภอเจาะไอร้อง อำเภอชำนิ อำเภอโนนดินแดง อำเภอปางมะผ้า อำเภอสนธิ อำเภอหนองม่วง อำเภอเบญจลักษ์ อำเภอโพนนาแก้ว อำเภอบุ่งคล้า อำเภอดอนมดแดง และอำเภอลืออำนาจ พ.ศ. ๒๕๓๙ว,ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 113 62ก หน้า 5.http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2539/A/062/5.PDF</ref>
บรรทัด 665:
อำเภอเทิงเป็นอำเภอที่มีพื้นที่กว้างขวางตั้งอยู่ทิศตะวัตออกเฉียงใต้ของตัวจังหวัด (สีแดง ในรูป 2) ต่อมาได้แบ่งพื้นที่บางส่วนตั้งเป็นอำเภอพญาเม็งราย และอำเภอขุนตาล ตามลำดับ
 
*ในปี พ.ศ. 2524 ได้แยกตำบลแม่เปา ตำบลแม่ต๋ำ และตำบลไม้ยา ออกจากอำเภอเทิงเพื่อตั้งเป็นกิ่งอำเภอพญาเม็งราย (หมายเลข 5 ในรูป 2)<ref>ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง แบ่งท้องที่อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย ตั้งเป็นกิ่งอำเภอพญาเม็งราย,ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 98 68 หน้า 1283.http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2524/D/068/1283.PDF</ref> และยกฐานะเป็นอำเภอพญาเม็งรายในปี พ.ศ. 2530 <ref>พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งอำเภอพญาเม็งราย อำเภอพบพระ อำเภอทับคล้อ อำเภอบ้านโคก และอำเภอโพธิ์ไทร พ.ศ. ๒๕๓๐,ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 104 156 หน้า 26.http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2530/A/156/26.PDF</ref>
 
*ในปี พ.ศ. 2524 ได้แยกตำบลป่าตาล ตำบลต้า และตำบลยางฮอม ออกจาก[[อำเภอเทิง]] เพื่อตั้งเป็นกิ่งอำเภอขุนตาล (หมายเลข 8 ในรูป 2)<ref>ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง แบ่งเขตท้องที่อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย ตั้งเป็นกิ่งอำเภอขุนตาล,ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 119 53 ฉบับพิเศษ หน้า 1.http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2535/D/053/6.PDF</ref> และยกฐานะขึ้นเป็น[[อำเภอขุนตาล]]ในปี พ.ศ. 2539<ref>พระราชกฤษฎีกาตั้งอำเภอเหนือคลอง อำเภอนายายอาม อำเภอท่าตะเกียบ อำเภอขุนตาล อำเภอแม่ฟ้าหลวง อำเภอแม่ลาว อำเภอรัษฎา อำเภอพุทธมณฑล อำเภอวังน้ำเขียว อำเภอเจาะไอร้อง อำเภอชำนิ อำเภอโนนดินแดง อำเภอปางมะผ้า อำเภอสนธิ อำเภอหนองม่วง อำเภอเบญจลักษ์ อำเภอโพนนาแก้ว อำเภอบุ่งคล้า อำเภอดอนมดแดง และอำเภอลืออำนาจ พ.ศ. ๒๕๓๙, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 113 62 ก ฉบับพิเศษ หน้า 5.http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2539/A/062/5.PDF</ref>
บรรทัด 672:
[[ไฟล์:Chiang_Rai_Map-King_Amphoe_2539.png|200px|left|thumb|แผนที่จังหวัดเชียงราย แสดงพื้นที่ซึ่งเคยมีการเสนอ ให้มีการจัดตั้งกิ่งอำเภอขึ้น ดังนี้ 1.กิ่งอำเภอแม่เจดีย์ 2.กิ่งอำเภอวาวี 3.กิ่งอำเภอดอยสัก 4.กิ่งอำเภอปล้อง 5.กิ่งอำเภอแม่อ้อ หรือ กิ่งอำเภอพัชรกิติยาภา 6.กิ่งอำเภอเรืองนคร]]
 
เนื่องจากบางอำเภอของจังหวัดเชียงรายมีพื้นที่กว้างใหญ่ แม้ว่าการคมนาคมจะสะดวกง่ายดายแต่ก็ใช้เวลานานในการเดินทางติดต่อราชการ รวมถึงบางพื้นที่ได้มีมีประชากรหนาแน่นขึ้นและมีความเจริญมากขึ้นเป็นลำดับ จึงมีการเสนอโครงการจัดตั้งกิ่งอำเภอต่างๆในหลายพื้นที่ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2539 (ดังรูป 3) ดังนี้
 
* เสนอให้แยกตำบลแม่เจดีย์ ตำบลแม่เจดีย์ใหม่ และตำบลเวียงกาหลง ออกจาก[[อำเภอเวียงป่าเป้า]]ในปี พ.ศ. 2539 เพื่อตั้งเป็น '''กิ่งอำเภอแม่ขะจาน''' อำเภอเวียงป่าเป้า เนื่องจากแม่ขะจานไกลจากตัวเมืองเวียงป่าเป้าแต่มีความเจริญและประชากรเริ่มหนาแน่นกว่า อย่างไรก็ตาม ชื่อกิ่งอำเภอแม่ขะจานยังปรากฏตามเว็บไซต์ต่างๆอย่างไม่เป็นทางการอาจสร้างความสับสนกับผู้อ่านได้ <ref>โป่งน้ำร้อน, http://kanchanapisek.or.th/oncc-cgi/text.cgi?no=12393 </ref> <ref>เจ้าแม่นางแก้ว, http://horoscope.thaiza.com/เจ้าแม่นางแก้ว/196642/</ref>
 
* เสนอให้แยกตำบลวาวี ออกจาก[[อำเภอแม่สรวย]]ในปี พ.ศ. 2539 เพื่อตั้งเป็น'''กิ่งอำเภอวาวี''' แต่โครงการได้ถูกระงับเนื่องจากขาดแคลนงบประมาณ อย่างไรก็ตาม ได้มีการรื้นฟื้นอีกครั้งหลังจากมีการเสนอร่างพระราชบัญญัติจัดตั้ง[[จังหวัดฝาง]]ขึ้นโดยมีการอ้างว่าเป็นความต้องการของประชาชนในตำบลวาวีเนื่องจากเดินทางติดต่อกับตัวอำเภอฝางสะดวกมากกว่าติดต่อกับจังหวัดเชียงราย <ref>ส.ส.เชียงใหม่ พท.หนุนตั้ง "ฝาง" เป็นจังหวัดใหม่ อ้าง ศก.เจ๋ง ทั้งท่องเที่ยว-การค้ากับเพื่อนบ้าน, http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1291029954&grpid=&catid=19&subcatid=1906</ref> <ref>ร่างพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดฝาง พ.ศ. .., http://www.parliament.g
บรรทัด 683:
* เสนอให้แยกตำบลปล้อง ตำบลแม่ลอย ตำบลศรีดอนชัย และตำบลเชียงเคี่ยน ออกจาก[[อำเภอเทิง]] เพื่อตั้งเป็น'''กิ่งอำเภอปล้อง'''
 
* เสนอให้แยกตำบลแม่อ้อและตำบลสันมะเค็ด ออกจาก[[อำเภอพาน]] เพื่อตั้งเป็น'''กิ่งอำเภอแม่อ้อ''' ในปี พ.ศ. 2539 แต่ก็ได้ถูกระงับไปเช่นกัน จนกระทั่งในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2556 ก็ได้มีข่าวการทำประชาคมเพื่อเสนอโครงการจัดตั้งกิ่งอำเภออีกครั้งโดยใช้ชื่อ'''กิ่งอำเภอพัชรกิติยาภา''' โดยพบว่าเกิดความขัดแย้งระหว่าง 2 ตำบลในการเสนอพื้นที่ที่เหมาะสมในการตั้งศูนย์ราชการของอำเภอใหม่<ref>ประชาคม อปท. แย่งชิงพื้นที่สร้างอำเภอ, http://www.thaipost.net/x-cite/230713/76767</ref> ทั้งยังก่อให้เกิดข้อถกเถียงเกี่ยวกับความเหมาะสมของชื่ออำเภอว่าจะเป็นชื่อท้องถิ่นหรือเป็นชื่อพระราชทานอีกด้วย <ref>กิ่งอำเภอใหม่, http://www.chiangraifocus.com/forums/index.php?topic=453247.40</ref>
 
* เสนอให้แยกตำบลครึ่ง ตำบลห้วยซ้อ และตำบลบุญเรือง ออกจาก[[อำเภอเชียงของ]]เพื่อตั้งเป็น'''กิ่งอำเภอเรืองนคร''' แต่โครงการนี้ได้ถูกระงับไปเช่นกัน
 
===การเสนอโครงการจัดตั้งจังหวัดเทิงนคร===
ในช่วงปี พ.ศ. 2540-2545 หลังจากได้มีการจัดตั้งหน่วยงานราชการระดับจังหวัด เช่น เรือนจำจังหวัดเทิง <ref>คำสั่งกระทรวงมหาดไทย ที่ ๒๙๗/๒๕๔๐ เรื่อง กำหนดอาณาเขตเรือนจำจังหวัดเทิง, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 11ภ 49 ง ฉบับพิเศษ หน้า 33.http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2540/E/049/33.PDF</ref> ศาลจังหวัดเทิง<ref>พระราชกฤษฎีกากำหนดวันเปิดศาลศาลจังหวัดเทิงและศาลจังหวัดเดชอุดม พ.ศ. ๒๕๔๕, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 119 97 ก หน้า 8 .http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/00103045.PDF</ref> สำนักงานอัยการจังหวัดเทิง สำนักงานขนส่งจังหวัดเชียงราย สาขาเทิง จึงได้มีกระแสการเสนอรณรงค์เพื่อเสนอโครงการจัดตั้งจังหวัดเทิงขึ้นโดยนักการเมืองในเขตอำเภอเทิง โดยใช้ชื่อที่ใช้ในการรณรงค์ในขณะนั้นว่า '''[[จังหวัดเทิงนคร]]''' โดยเสนอที่จะแยก [[อำเภอเทิง]] [[อำเภอเชียงของ]] [[อำเภอป่าแดด]] [[อำเภอพญาเม็งราย]] [[อำเภอขุนตาล]] และ[[อำเภอเวียงแก่น]] จังหวัดเชียงราย ขึ้นเป็นจังหวัดใหม่ แต่โครงการนี้ได้เงียบไปแและเป็นที่กล่าวถึงใหม่เป็นระยะๆบนกระดานสนทนาต่างๆบนอินเทอร์เน็ต<ref>จังหวัดเทิงนคร จะเป็นไปได้หรือ ? แยกจาก จ.เชียงราย, http://www.chiangraifocus.com/forums/index.php?topic=28180.msg263503;topicseen</ref>
 
ในช่วงปี พ.ศ. 2540-2545 หลังจากได้มีการจัดตั้งหน่วยงานราชการระดับจังหวัด เช่น เรือนจำจังหวัดเทิง <ref>คำสั่งกระทรวงมหาดไทย ที่ ๒๙๗/๒๕๔๐ เรื่อง กำหนดอาณาเขตเรือนจำจังหวัดเทิง, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 11ภ 49 ง ฉบับพิเศษ หน้า 33.http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2540/E/049/33.PDF</ref> ศาลจังหวัดเทิง<ref>พระราชกฤษฎีกากำหนดวันเปิดศาลศาลจังหวัดเทิงและศาลจังหวัดเดชอุดม พ.ศ. ๒๕๔๕, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 119 97 ก หน้า 8 .http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/00103045.PDF</ref> สำนักงานอัยการจังหวัดเทิง สำนักงานขนส่งจังหวัดเชียงราย สาขาเทิง จึงได้มีกระแสการเสนอรณรงค์เพื่อเสนอโครงการจัดตั้งจังหวัดเทิงขึ้นโดยนักการเมืองในเขตอำเภอเทิง โดยใช้ชื่อที่ใช้ในการรณรงค์ในขณะนั้นว่า '''[[จังหวัดเทิงนคร]]''' โดยเสนอที่จะแยก [[อำเภอเทิง]] [[อำเภอเชียงของ]] [[อำเภอป่าแดด]] [[อำเภอพญาเม็งราย]] [[อำเภอขุนตาล]] และ[[อำเภอเวียงแก่น]] จังหวัดเชียงราย ขึ้นเป็นจังหวัดใหม่ แต่โครงการนี้ได้เงียบไปแและเป็นที่กล่าวถึงใหม่เป็นระยะๆบนกระดานสนทนาต่างๆบนอินเทอร์เน็ต<ref>จังหวัดเทิงนคร จะเป็นไปได้หรือ ? แยกจาก จ.เชียงราย, http://www.chiangraifocus.com/forums/index.php?topic=28180.msg263503;topicseen</ref>
 
===การเสนอโครงการจัดตั้งจังหวัดเชียงของ===
 
หลังจากมีการก่อสร้าง สะพานข้ามแม่น้ำโขงแห่งที่ 4 (เชียงของ-ห้วยทราย) ขึ้นที่[[อำเภอเชียงของ]] <ref>ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การเปิดจุดผ่านแดนชั่วคราวเพื่อก่อสร้างสะพานมิตรภาพแห่งที่ ๔ (เชียงของ - ห้วยทราย, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 128 41 ง หน้า 14, http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2554/E/041/24.PDF )</ref> ในปี พ.ศ. 2554 และมีโครงการเชียงของเมืองใหม่ขึ้นมารับการพัฒนาที่จะตามมาตาม[[ทางหลวงเอเชียสาย 3]] (AH3) หรือเส้นทาง R3A <ref>กลุ่มทุนธุรกิจแห่บุก "เชียงของ" รับสะพานแม่น้ำโขง 4 - อาเซียน, http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1372923087 </ref> <ref>เชียงของ 1 เมือง 2 แบบ, http://www.bangkokbiznews.com/home/detail/life-style/lifestyle/20130306/493270/เชียงของ-1-เมือง-2-แบบ.html</ref> <ref>โครงการศูนย์การค้าชายแดนเชียงของเมืองใหม่ ทีตั้งอำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย, http://www.chiangraifocus.com/forums/index.php?topic=410390.0 </ref> จึงมีแนวคิดที่จะเสนอโครงการจัดตั้ง'''จังหวัดเชียงของ''' โดยแยก[[อำเภอเชียงแสน]] [[อำเภอดอยหลวง]] [[อำเภอเทิง]] [[อำเภอเชียงของ]] [[อำเภอป่าแดด]] [[อำเภอพญาเม็งราย]] [[อำเภอขุนตาล]] และ[[อำเภอเวียงแก่น]] จังหวัดเชียงราย ขึ้นเป็นจังหวัดใหม่ <ref>จัดตั้งจังหวัดใหม่ที่ 78 คือ จ.เชียงของ, http://www.chiangraifocus.com/forums/index.php?topic=89508.0</ref> และก่อให้เกิดข้อถกเถียงบนกระดานข่าวในอินเทอร์เน็ตอยู่ระยะหนึ่งหลังจากมีข่าวลงในหนังสือพิมพ์ท้องถิ่นในปี พ.ศ. 2554 อย่างไรก็ตามโครงการดังกล่าวได้เงียบไปหลังจากนั้นไม่นาน
 
เส้น 714 ⟶ 712:
| width="500" valign="top" |
* วิทยาลัยเชียงราย
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย]]
* [[มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย]]
* วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงราย หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต
* วิทยาลัยเทคนิคเชียงราย
* วืทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชียงราย
| width="500" valign="top" |
* [[มหาวิทยาลัยรามคำแหง]] สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติเชียงราย
เส้น 744 ⟶ 742:
* [[โรงเรียนวิรุณบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีเชียงราย]]
* [[โรงเรียนเทคโนโลยีเชียงราย]]
* [[วิทยาลัยอาชีวศึกษาแม่สาย]]
* [[โรงเรียนชัยศิษย์บริหารธุรกิจและเทคโนโลยีเชียงของ]]
* วิทยาลัยเทคโนโลยีอาชีวศึกษาเชียงราย (พณิชยการสาขา 2)
เส้น 757 ⟶ 755:
| width="500" valign="top" |
* [[สามเหลี่ยมทองคำ]]
* [[น้ำตกขุนกรณ์]]
* [[ภูชี้ฟ้า]]
* [[ดอยแม่สลอง]]
* [[ดอยหัวแม่คำ]]
เส้น 792 ⟶ 790:
* [[วัดพระสิงห์]] อำเภอเมืองเชียงราย
* [[วัดพระแก้ว]] อำเภอเมืองเชียงราย
* [[วัดห้วยปลาก้าง]] อำเภอเมืองเชียงราย
* [[วัดแสงแก้วโพธิญาณ]] แม่สรวย
* [[ไร่แม่ฟ้าหลวง]] อำเภอเมืองเชียงราย
เส้น 804 ⟶ 802:
| width="500" valign="top" |
* [[ด่านพรมแดนแม่สาย]]
* [[ถนนคนเดินเชียงราย]]
* [[อำเภอเชียงของ]]
* [[เชียงรายไนท์บาซ่าร์]]
เส้น 952 ⟶ 950:
 
{{Geographic location
| Centre = จังหวัดเชียงราย
| North = {{MYA}} {{LAO}}
| Northeast = {{LAO}}
| East = {{LAO}}
| Southeast = [[จังหวัดพะเยา]]
| South = [[จังหวัดพะเยา]] [[จังหวัดลำปาง]]
| Southwest = [[จังหวัดเชียงใหม่]]
| West = [[จังหวัดเชียงใหม่]]
| Northwest = {{MYA}}
}}