ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การรวมประเทศจีน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 17:
=== หนึ่งจีนสองระบบ ===
[[ไฟล์:Anti-Taiwan_independence_movement_protesters_in_Washington_DC_20051020.jpg|thumb|กลุ่มผู้ประท้วงต่อต้านการเป็นอิสระของไต้หวันชาติที่วอชิงตัน ดี.ซี. สหรัฐอเมริการระหว่าง ลี เต็ง-หุ่ยมาเยือน]]
ตามที่ร่างข้อเสนอ 1995 โดย CPC เลขาธิการและประธานาธิบดี [[เจียง เจ๋อหมิน|Jiang Zemin]] ไต้หวันจะสูญเสียอำนาจอธิปไตยและสิทธิ์ในการตัดสินใจด้วยตัวเองแต่จะยังคงมีกำลังอาวุธและส่งตัวแทนที่จะเป็น "ผู้นำหมายเลขสอง" ในรัฐบาลกลางของสาธารณรัฐประชาชนจีนตามระบบหนึ่งประเทศสองระบบที่ได้ปรับใช้สำหรับฮ่องกงและมาเก๊า ดังนั้นภายใต้การขอเสนอนี้[[สาธารณรัฐจีน]]จะล่มสลายได้
 
ชาวไต้หวันบางคนยังสนับสนุน "หนึ่งประเทศสองระบบ" ในขณะที่ผู้สนับสนุนางส่วนโต้แย้งเพื่อรักษาสถานะภาพปัจจุบันจนกว่าจีนแผ่นดินใหญ่จะกลายเป็นประชาธิปไตยและประเทศอุตสาหกรรมในระดับเดียวกับไต้หวัน ในการเลือกตั้งประธานาธิบดีปี 2000 เจมส์ ซุง ผู้สมัครอิสระเสนอรูปแบบความสัมพันธ์ของ[[สหภาพยุโรป]]กับจีนแผ่นดินใหญ่พร้อมกับการไม่ใช่ความก้าวร้าวในการตกลงกัน ในการเลือกตั้งประธานาธิบดีปี 2004 เหลียน ชาน เสนอรูปแบบความสัมพันธ์แบบสมาพันธรัฐ รัฐบาลปักกิ่งได้คัดค้านแผนนั้นและอ้างว่าไต้หวันนั้นเป็นส่วนหนึ่งของประเทศจีนแล้วและไม่ใช่รัฐดังนั้นจึงไม่สามารถตั้งสมาพันธรัฐได้
 
ข้อเสนอในการรวมกันไม่ถูกละทิ้งในไต้หวันและปัญหายังคงถกเถียงกันในสมัยประธานาธิบดี Chen[[เฉิน ฉุ่ยเปี่ยน| Shui-bian]] ผู้ปฏิเสธที่จะยอมรับการพูดคุยที่เงื่อนไขปักกิ่งภายใต้คณะบริหารสาธารณรัฐประชาชนจีนของ[[หู จิ่นเทา]] การรวมไต้หวันสูญเสียความสำคัญท่ามกลางความเป็นจริงที่[[พรรคประชาธิปไตยก้าวหน้า]] (DPP) จะครองตำแหน่งประธานนาธิบดีในไต้หวันจะถูกพักโดยประธานาธิบดี Chen Shui-bian ที่เป็นนักเสรีนิยมจนถึงปี 2008 และความสำคัญย้ายไปยังการประชุมกับนักการเมืองที่ต่อต้านเสรีนิยมแทน