ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จักรพรรดิฮั่นเกาจู่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 30:
 
== โค่นล้มราชวงศ์ฉิน ==
กล่าวกันว่าพระองค์เป็นคนใจกว้าง เนื่องจากเห็นใจแรงงานที?่ถูกเกณฑ์ ที่ถูกเกณฑ์จึงแอบปล่อยพวกแรงงานที่ถูกเกณฑ์มาให้เป็นอิสระ ทำให้ตัวเองจำต้องหลบหนีไปจากบ้านเกิด ในปี 209 [[ก่อนคริสต์ศักราช]] ได้ก่อการ[[กบฏ]]ด้วยการรวบรวมสมัครพรรคพวก เข้ายึดเพ่ยเสี้ยนซึ่งเป็นบ้านเกิดของตนหลังจากเฉิ่นเซิ่งกับอู๋กว่างได้ก่อกบฏขึ้นก่อน ต่อมาได้ยกทัพบุกเข้า[[เสียนหยาง]] เมืองหลวงของราชวงศ์ฉินและโค่นล้มการปกครองของราชวงศ์ฉิน ในที่สุด
 
ในที่สุดเมื่อพระองค์ได้เข้าครองเมืองเสียนหยางเรียบร้อยแล้ว ก็ไม่ได้ทำร้ายหรือเข่นฆ่าพวกเชื้อพระวงศ์ของราชวงศ์ฉินแต่อย่างใด แต่กลับสั่งการให้เก็บรักษาทรัพย์สมบัติในพระราชวังและวังอื่น ๆ ตลอดจนท้องพระคลังของราชวงศ์ฉินไว้อย่างดี นอกจากนั้น ยังห้าม ทหารของตนปล้นชิงทรัพย์สินที่มีค่าจากประชาชน ขณะเดียวกัน ตนเองก็ไม่รับของมีค่าที่ชาวเมืองมอบให้ ยิ่งกว่านั้น พระองค์ยังประกาศยกเลิกกฎหมายเก่าสมัย[[ฉินซีฮ่องเต้]]ที่ได้บัญญัติโทษไว้โหดร้ายทารุณมาก เช่น ใครฆ่ากันตายต้องประหารชีวิตสามชั่วโคตร เป็นต้น โดยให้ใช้ "กฎหมายใหม่" ของตนที่เรียกว่า "บัญญัติ 3 ประการ" แทนกล่าวคือ "ฆ่าคนต้องชดใช้ชีวิตทำร้ายร่างกายหรือ โจรกรรมทรัพย์สินต้องชดใช้ความเสียหาย" ด้วยเหตุนี้ หลิวปังจึงได้รับการสนับสนุนจากประชาชนทั่วไป
 
เมื่อพระองค์ได้เข้าครองเมืองเสียนหยางเรียบร้อยแล้ว ก็ไม่ได้ทำร้ายหรือเข่นฆ่าพวกเชื้อพระวงศ์ของราชวงศ์ฉินแต่อย่างใด แต่กลับสั่งการให้เก็บรักษาทรัพย์สมบัติในพระราชวังและวังอื่น ๆ ตลอดจนท้องพระคลังของราชวงศ์ฉินไว้อย่างดี นอกจากนั้น ยังห้าม ทหารของตนปล้นชิงทรัพย์สินที่มีค่าจากประชาชน ขณะเดียวกัน ตนเองก็ไม่รับของมีค่าที่ชาวเมืองมอบให้ ยิ่งกว่านั้น พระองค์ยังประกาศยกเลิกกฎหมายเก่าสมัย[[ฉินซีฮ่องเต้]]ที่ได้บัญญัติโทษไว้โหดร้ายทารุณมาก เช่น ใครฆ่ากันตายต้องประหารชีวิตสามชั่วโคตร เป็นต้น โดยให้ใช้ "กฎหมายใหม่" ของตนที่เรียกว่า "บัญญัติ 3 ประการ" แทนกล่าวคือ "ฆ่าคนต้องชดใช้ชีวิตทำร้ายร่างกายหรือ โจรกรรมทรัพย์สินต้องชดใช้ความเสียหาย" ด้วยเหตุนี้ หลิวปังจึงได้รับการสนับสนุนจากประชาชนทั่วไป
 
== สงคราม ฉู่-ฮั่น ==