ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หม่อมไกรสร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนการแก้ไขที่ 7692675 สร้างโดย 223.24.63.33 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 24:
| footnotes =
}}
'''หม่อมไกรสร''' มีพระนามเดิมว่า '''พระองค์เจ้าไกรสร''' ต่อมามีพระอิสริยยศเป็น '''พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไกรสร กรมหลวงรักษ์รณเรศ''' (26 ธันวาคม พ.ศ. 2334 – 13 ธันวาคม พ.ศ. 2391) เป็นพระราชโอรสใน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]]และ[[เจ้าจอมมารดาน้อยแก้ว ในรัชกาลที่ 1|เจ้าจอมมารดาน้อยแก้ว]] ทรงเป็นต้น[[ราชสกุล]] [[:หมวดหมู่:ราชสกุลพึ่งบุญ|พึ่งบุญ]] และ สกุล อนิรุทธเทวา
 
== พระประวัติ ==
หม่อมไกรสรเป็นพระราชโอรสใน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช|พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]]กับเจ้าจอมมารดาน้อยแก้ว ธิดาพระจักรีเมืองนครศรีธรรมราช พระองค์เจ้าไกรสรประสูติเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2334 ตรงกับวันจันทร์ เดือนยี่ ขึ้นสองค่ำ ปีกุน สัมฤทธิศก จ.ศ. 1210 พระประวัติเมื่อทรงพระเยาวน์นั้น ก.ศ.ร. กุหลาบบันทึกไว้ว่า "พระองค์ท่านเปนจอมปราชญ์ จินตะกระวีบัณฑิตย์ ชาติ์ราชตระกูลสุริยวงศ์อันประเสริฐ" และจากวารสารภาษาอังกฤษที่ชื่อ ''Siam Repository'' กล่าวถึงความโดดเด่นโดยเฉพาะด้านการศาสนาและโหราศาสตร์ ว่า "ทรงมีความรู้ทางด้าน[[ศาสนาพุทธ]]อย่างดีเยี่ยม เหนือกว่าพระบรมวงศานุวงศ์อื่น ๆ"<ref>Siam J. Smith. ''Siam Repository'', Vol 1, January 1869, p. 337. </ref> ด้วยเหตุนี้รัชกาลที่ 2 จึงทรงสถาปนาเป็น กรมหมื่นรักษรณเรศร กำกับกรมสังฆการี ต่อมาในรัชกาลที่ 3 ทรงกำกับกรมวังและอธิบดีกรมพระคชบาลต่อจาก[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงเทพพลภักดิ์]] ซึ่งเป็นพระเชษฐา
 
พระประวัติเมื่อทรงพระเยาวน์นั้น ก.ศ.ร. กุหลาบบันทึกไว้ว่า "พระองค์ท่านเปนจอมปราชญ์ จินตะกระวีบัณฑิตย์ ชาติ์ราชตระกูลสุริยวงศ์อันประเสริฐ" และจากวารสารภาษาอังกฤษที่ชื่อ ''Siam Repository'' กล่าวถึงความโดดเด่นโดยเฉพาะด้านการศาสนาและโหราศาสตร์ ว่า "ทรงมีความรู้ทางด้าน[[ศาสนาพุทธ]]อย่างดีเยี่ยม เหนือกว่าพระบรมวงศานุวงศ์อื่น ๆ"<ref>Siam J. Smith. ''Siam Repository'', Vol 1, January 1869, p. 337. </ref> ด้วยเหตุนี้รัชกาลที่ 2 จึงทรงสถาปนาเป็น กรมหมื่นรักษรณเรศร กำกับกรมสังฆการี ต่อมาในรัชกาลที่ 3 ทรงกำกับกรมวังและอธิบดีกรมพระคชบาลต่อจาก[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงเทพพลภักดิ์]] ซึ่งเป็นพระเชษฐา
 
นอกจากนี้หม่อมไกรสร เมื่อยังทรงเป็นกรมหมื่นรักษรณเรศรได้ทรงงานเคียงคู่กับ[[กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์]]มาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 2 และในฐานะพระปิตุลาหรือ "อา" ทรงงานรับใช้ราชการเคียงคู่กับ[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]]เกือบตลอดรัชกาล โปรดเกล้าฯ สถาปนาขึ้นเป็น '''กรมหลวงรักษ์รณเรศ''' และโปรดให้กำกับกรมวัง
เส้น 44 ⟶ 42:
 
== พระโอรส-พระธิดา ==
หม่อมไกรสรเป็นต้น[[ราชสกุล]] '''พึ่งบุญ''' ได้รับพระราชทานเป็นลำดับที่ 3<ref>{{cite journal|journal= ราชกิจจานุเบกษา |volume= 30 |issue= 0 ง |pages= 648 |title= ประกาศกระทรวงมุรธาธร เรื่อง ประกาศพระราชทานนามสกุล ครั้งที่ ๑ |url= http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2456/D/648.PDF |date= 26 มิถุนายน 2456 | accessdate = 24 มิถุนายน 2561|language= ไทย }}</ref> ในสมัย[[รัชกาลที่ 6พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] แต่แปลกกว่าราชสกุลอื่นตรงที่จะนำพระนามของต้นสกุลมาตั้งออกพระนาม ส่วนราชสกุล "พึ่งบุญ" กลับไม่ใช้พระนามของพระองค์เจ้าไกรสร หม่อมไกรสรมีหม่อมหลายท่านแต่ไม่ปรากฏนาม มีพระบุตรทั้งหมด 11 องค์ เดิมมียศเป็น ''หม่อมเจ้า'' ที่ต่อมาถูกลดเป็น ''หม่อม'' ทั้งหมด ได้แก่
 
# หม่อมเจ้าหญิงนิลบน พึ่งบุญ
เส้น 60 ⟶ 58:
# หม่อมเจ้าอำพล พึ่งบุญ
#* พระยาประสิทธิ์ศุภการ (หม่อมราชวงศ์ละม้าย พึ่งบุญ) สมรสกับทัด พึ่งบุญ ณ อยุธยา
#** หม่อมหลวงหญิงเชื้อ พึ่งบุญ (ท้าวอินทรสุริยา)
#** พลเอก พลเรือเอก [[เจ้าพระยารามราฆพ (หม่อมหลวงเฟื้อ พึ่งบุญ)]]
#** พลตรี [[พระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ)]]
เส้น 70 ⟶ 68:
 
== อ้างอิง ==
; เชิงอรรถ
{{รายการอ้างอิง|2}}
* {{อ้างหนังสือ
; บรรณานุกรม
| ผู้แต่ง = ศุภวัฒย์ เกษมศรี, พลตรี หม่อมราชวงศ์, และรัชนี ทรัพย์วิจิตร
{{เริ่มอ้างอิง}}
| ชื่อหนังสือ = พระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้าในพระราชวงศ์จักรี
* {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร | ชื่อหนังสือ = ราชสกุลวงศ์| URL = http://bcnnon.ac.th/webnon/Load/2013/01/king22.pdf| จังหวัด = พิมพ์ครั้งที่ 14, กรุงเทพฯ| พิมพ์ที่ = สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร| ปี = 2554 | ISBN = 978-974-417-594-6| จำนวนหน้า = 296| หน้า = 17-18}}
| URL =
* {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = ศุภวัฒย์ เกษมศรี, หม่อมราชวงศ์, และรัชนี ทรัพย์วิจิตร| ชื่อหนังสือ = พระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้าในพระราชวงศ์จักรี| URL = | จังหวัด = กรุงเทพ| พิมพ์ที่ = สำนักพิมพ์บรรณกิจ| ปี = พิมพ์ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2549| ISBN = 974-221-818-8| หน้า = 25| จำนวนหน้า = 360}}
| จังหวัด = กรุงเทพ
{{จบอ้างอิง}}
| พิมพ์ที่ = สำนักพิมพ์บรรณกิจ
 
| ปี = พิมพ์ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2549
| ISBN = 974-221-818-8
| หน้า = หน้าที่
| จำนวนหน้า = 360
}}
 
{{ต้นราชสกุลในรัชกาลที่ 1}}
เส้น 88 ⟶ 82:
{{พระราชโอรสราชวงศ์จักรี}}
 
{{เรียงลำดับ|ไกรสรกรสร}}
{{อายุขัย|2334|2391}}
[[หมวดหมู่:พระราชโอรสในรัชกาลที่ 1]]
เส้น 94 ⟶ 88:
[[หมวดหมู่:พระองค์เจ้า]]
[[หมวดหมู่:กรมหลวง|รักษ์รณเรศ]]
[[หมวดหมู่:ราชสกุลพึ่งบุญ| ]]
[[หมวดหมู่:เจ้านายที่ถูกถอดจากฐานันดรศักดิ์]]
[[หมวดหมู่:ผู้ถูกสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์]]
[[หมวดหมู่:บุคคลชาวไทยที่มีความหลากหลายทางเพศ]]
{{โครงชีวประวัติ}}