ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงเรียนสมุทรปราการ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
เก็บกวาดทันใจด้วยสจห.
บรรทัด 1:
{{เพิ่มอ้างอิง}}
{{กล่องข้อมูล โรงเรียน
| image = ตราสัญลักษณ์ประจำโรงเรียนสมุทรปราการ.gif
| name = โรงเรียนสมุทรปราการ
| en_name = Samutprakan School
| address = 498 [[ถนนสุขุมวิท]] [[ตำบลปากน้ำ]] [[อำเภอเมืองสมุทรปราการ]] [[จังหวัดสมุทรปราการ]] 10270
บรรทัด 15:
| students = 3,246 คน <small>ปีการศึกษา 2560</small><ref>[http://www.prakan.ac.th/index.php?view=article&catid=38%3A2009-01-21-13-46-29&id=966%3A2009-01-27-08-33-14&format=pdf&option=com_content&Itemid=37 จำนวนนักเรียน]</ref>
| language = ภาษาที่มีการเรียนการสอนในโรงเรียน
{{flagicon|THA}} [[ภาษาไทย|ภาษาไทย]]<br>{{flagicon|UK}} [[ภาษาอังกฤษ|ภาษาอังกฤษ]]<br>{{flagicon|JPN}} [[ภาษาญี่ปุ่น|ภาษาญี่ปุ่น]]<br>{{flagicon|China}} [[ภาษาจีนกลาง|ภาษาจีน]]<br> {{flagicon|France}} [[ภาษาฝรั่งเศส|ภาษาฝรั่งเศส]] (ยกเลิกแล้ว)<br>
| director = ชาญสินธุ์ กิจแสงทอง
| motto = ปญญา นรานํ รตนํ<br/>ปัญญาเป็นแก้วของนรชน
| song = <ul>เพลงเทิดเกียรติ ส.ป.</ul>
| colours = {{แถบสีสามกล่อง|Deepskyblue}}{{แถบสีสามกล่อง|#ffff00}} [[สีฟ้า|ฟ้า]] - [[สีเหลือง|เหลือง]]
| area = 17 ไร่
บรรทัด 36:
โรงเรียนสมุทรปราการทำการสอนครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2426 หลัง[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ]]ได้เสร็จลงมาตั้งโรงเรียนหนังสือไทยที่วัดกลางเมืองสมุทรปราการ ต่อมา[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ จัดตั้งโรงเรียนที่มีอยู่ตามพระอารามหลวง<ref name="SPK">นางสาววรัฏรยา หุ่นเจริญ มหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ. 2545 [http://www.thapra.lib.su.ac.th/objects/thesis/fulltext/thapra/Varatraya_Hunchareon/fulltext.pdf ''โรงเรียนสมัยรัชกาลที่ 5''] รูปแบบภาษาไทยและอังกฤษ สืบค้นเมื่อ 5 พฤษภาคม 2561</ref>ทำให้โรงเรียนหนังสือไทยที่วัดกลางได้รับการจัดตั้งเป็น '''โรงเรียนวัดกลาง''' เมื่อ พ.ศ. 2429<ref>[http://www.prakan.ac.th/index.php?option=com_content&view=category&layout=blog&id=40&Itemid=27 ประวัติโรงเรียน]</ref>
 
=== ก่อตั้ง ===
การตั้งโรงเรียนที่วัดกลางสมุทรปราการนี้ พระครูสุนทรสมุทร์ (น้อย) ได้รับภาระเป็นผู้จัดการและอุปการะดูแลโรงเรียนและให้นายเชาว์เป็นครูใหญ่ได้เริ่มการสอนนักเรียนที่ศาลาทำบุญกลางอาวาส กระทั่งวันเสาร์แรม 9 ค่ำ เดือน 8 พ.ศ. 2427 พระครูสุนทรสมุทร์ (น้อย) ได้จัดจ้างอาจารย์มาสอนพระปริยัติธรรมแก่ภิกษุ สามเณร เพิ่มเติมอีก<ref name="SPK1"/><ref name="book129"/>
 
บรรทัด 46:
มากกว่าในรายงานครั้งก่อน คือ โรงเรียน 5 แห่ง , อาจารย์ 19 คน , นักเรียน 590 คน ซึ่งในจำนวน 5 แห่งนี้ มีแขวงเมืองสมุทรปราการรวมอยู่ด้วยแห่งหนึ่ง มีจำนวนนักเรียน 60 คน ดังตัวอย่างของแผนกการศึกษาถึงจำนวน ครู นักเรียน ในเดือน 2-3-4<ref name="SPK2"/><ref name="book129"/>
 
=== พัฒนา ===
[[ไฟล์:นาฬิกาและโต๊ะเรียนพระราชทาน.jpg |350px|thumbnail|right|นาฬิกาและโต๊ะเรียนพระราชทาน]]
 
พ.ศ. 2428 ความทราบใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]จึงมีพระราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้ประกาศแก่พระบรมวงศานุวงศ์และทวยราษฎร์ทั้งหลายทราบว่า พระองค์ทรงมีพระราชดำริเห็นว่าวิชาการและหนังสือเป็นต้นเค้าของวิชาความรู้สมควรที่จะทำนุบำรุงให้เจริญยิ่งขึ้นเพราะคนในสยามของเราไม่รู้หนังสือไทยยังมีอีกมากที่พอรู้อ่านออกเขียนได้แต่ไม่ถูกถ้วนนั้นก็มีมากเพราะโรงเรียนที่สอนวิชาตามแบบหลวงยังมีน้อยอีกทั้งมีพระประสงค์จะให้พระบรมวงศานุวงศ์และทวยราษฎร์ทั้งปวงได้เล่าเรียนหนังสือไทยโดยละเอียดตามแบบที่ถูกต้องจึงสละราชทรัพย์ออกตั้งโรงเรียนและจ้างครูสอนทำนุบำรุงการเล่าเรียนสิ้นพระราชทรัพย์เป็นอันมากและยังมีพระราชดำริจะให้ตั้งโรงเรียนตามพระอารามหลวงทุก ๆ พระอารามทำให้ประชาชนตื่นเล่าลือกันว่าที่ให้ตั้งโรงเรียนนั้นเพราพระราชประสงค์จะเก็บเด็กนักเรียนเป็นทหาร<ref name="SPK2"/><ref name="AAA"/><ref name="book129"/>
 
ความทราบใต้ฝ่าละอองธุรีพระบาท จึงประกาศ ณ วันศุกร์ เดือน 6 แรม 3 ค่ำ ปีระกา พ.ศ. 2428 ว่า
บรรทัด 60:
 
พ.ศ. 2435 ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้เจ้าพนักงานกระทรวงธรรมการ จัดการศึกษาให้เป็นแบบแผน โดยแบ่งการเล่าเรียนเป็นลำดับชั้น บรรดาการเล่าเรียนในชั้นแรกเรียกว่า มูลศึกษา แบ่งออกเป็น 2 ชั้น คือ<ref name="AAA">ม.ม.ป. [https://nisakorn5746702006.files.wordpress.com/2014/10/e0b89be0b8a3e0b8b0e0b8a7e0b8b1e0b895e0b8b4e0b881e0b8b2e0b8a3e0b8a8e0b8b6e0b881e0b8a9e0b8b2e0b984e0b897e0b8a2.pdf การศึกษาของไทยสมัยปฏิรูปการศึกษา (พ.ศ. 2412 - พ.ศ. 2474)]สืบค้นเมื่อ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2561</ref><ref name="SPK3"/>
* โรงเรียนมูลสามัญชั้นต่ำ ให้สอนเพียง เขียน อ่าน คิดเลข 4 แม่ (บวก ลบ คูณ หาร)
* โรงเรียนมูลสามัญชั้นสูง ให้สอน เขียน อ่าน แต่งข้อความ ไวยากรณ์ คิดเลข พระราชพงศาวดาร ภูมิศาสตร์ วิทยาการตามแบบเรียน
 
ในความว่าด้วยโรงเรียนมูลศึกษาวัดกลางเมืองสมุทรปราการได้เปิดทำการสอนมาหลายปีแต่ผู้อุปการะและครูได้ลาจากการในโรงเรียน ต่อมาภายหลังท่านพระครูสุนทรสมุทร์เจ้าคณะใหญ่ได้ชักชวนผู้มีจิตศรัทธาบริจาคทรัพย์ตั้งพิธีเปิดโรงเรียน เมื่อวันที่ 3 กันยายน ร.ศ. 114 เวลาบ่าย 3 โมงเศษ พระสงฆ์ถานานุกรม 95 รูป เจริญพระพุทธมนต์ รุ่งขึ้นวันที่ 4 ทายกถวายอาหารบิณฑบาตรแล้ว พระครูสุนทรสมุทร์ได้จัดให้ นายบุตร นักเรียนประโยค 1 เป็นครู เริ่มลงมือสอนตั้งแต่ 3 โมงเช้าเป็นต้นไป <ref>ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 12 หน้า 270-271</ref><ref>จากหลักฐาน “แจ้งความกระทรวงธรรมการแผนกศึกษาธิการ”</ref><ref name="SPK3"/>
บรรทัด 199:
=== เกียรติประวัติ ===
; [[พ.ศ. 2551]]
* เป็น 1 ในโรงเรียนที่มีอัตราการแข่งขันสูงของประเทศ ระดับมัธยมศึกษา ปีการศึกษา 2551
; [[พ.ศ. 2552]]
* เป็น 1 ในโรงเรียนที่มีอัตราการแข่งขันสูงของประเทศ ระดับมัธยมศึกษา ปีการศึกษา 2552
; [[พ.ศ. 2553]]
* เป็น 1 ในโรงเรียนที่มีอัตราการแข่งขันสูงของประเทศ ระดับมัธยมศึกษา ปีการศึกษา 2553
* ได้รับการคัดเลือกให้เป็นโรงเรียนในโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล (World - Class Standard School) รุ่นที่ 1 เป็น 1 ใน 369 โรงเรียนทั่วประเทศ<ref>[http://www.obec.go.th/sites/obec.go.th/files/document/attachment/49905/588148.pdf โรงเรียนมาตรฐานสากล (World - Class Standard School) รุ่นที่ 1 ]</ref>
; [[พ.ศ. 2554]]
* เป็น 1 ในโรงเรียนที่มีอัตราการแข่งขันสูงของประเทศ ระดับมัธยมศึกษา ปีการศึกษา 2554<ref>http://www.obec.go.th/sites/obec.go.th/files/document/attachment/4164/40138.pdf โรงเรียนที่มีอัตราการแข่งขันสูง ระดับมัธยมศึกษา ปีการศึกษา 2554</ref>
; [[พ.ศ. 2555]]
* เป็น 1 ในโรงเรียนที่มีอัตราการแข่งขันสูงของประเทศ ระดับมัธยมศึกษา ปีการศึกษา 2555
* ได้รับรางวัลชนะเลิศ ถ้วยพระราชทานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในการแข่งขันโต้สาระวาทีรูปแบบรัฐสภาเอเชีย จัดโดยมูลนิธิสถาบันราชพฤกษ์ และ[[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]
* ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ทรงเปิดชมรม และศูนย์เพื่อนใจทูบีนัมเบอร์วัน ที่โรงเรียนสมุทรปราการ<ref>[http://www.prakan.ac.th/index.php?option=com_content&view=article&id=494:2012-03-25-11-46-31&catid=47:2009-01-24-04-29-53 ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี เสด็จไปยังโรงเรียนสมุทรปราการ ]</ref>
; [[พ.ศ. 2556]]
* เป็น 1 ในโรงเรียนที่มีอัตราการแข่งขันสูงของประเทศ ระดับมัธยมศึกษา ปีการศึกษา 2556<ref>http://www.sesao8.go.th/file/2012-12-06_01.pdf โรงเรียนที่มีอัตราการแข่งขันสูง ระดับมัธยมศึกษา ปีการศึกษา 2556</ref>
* รางวัลหนึ่งแสนครูดีมีคุณครูโรงเรียนสมุทรปราการ ได้รับรางวัล 29 ท่าน
; [[พ.ศ. 2557]]
* เป็น 1 ในโรงเรียนที่มีอัตราการแข่งขันสูงของประเทศ ระดับมัธยมศึกษา ปีการศึกษา 2557<ref>http://www.korat7.go.th/web/images/stories/01-57/227.pdf?e1a5ed8408d7cd9dfd4e6ed5108ec95d=bf934e39ee54ad550be3e7ff8eca8299 โรงเรียนที่มีอัตราการแข่งขันสูง ระดับมัธยมศึกษา ปีการศึกษา 2557</ref>
; [[พ.ศ. 2558]]
* เป็น 1 ในโรงเรียนที่มีอัตราการแข่งขันสูงของประเทศ ระดับมัธยมศึกษา ปีการศึกษา 2558<ref>http://www.mathayom9.go.th/webspm9/data/student58/student05.pdf โรงเรียนที่มีอัตราการแข่งขันสูง ระดับมัธยมศึกษา ปีการศึกษา 2558</ref>
* รางวัลชนะเลิศ แข่งขันวงโยธวาทิตชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ครั้งที่ 35 ประเภท ค. ปี 2559 <ref>[http://band.dpe.go.th/latest-news/final-results/ รางวัลชนะเลิศ แข่งขันวงโยธวาทิตชิงถ้วยพระราชทานพระเทพฯ ครั้งที่35 ทุกประเภท]</ref>
* รางวัลชนะเลิศ การแข่งขันฟุตซอลนักเรียน กรมพลศึกษา ประจำปี 2559 ประเภททั่วไป รุ่นอายุไม่เกิน16ปี <ref>[http://www.dpe.go.th/th/newsdetail/5213 รางวัลชนะเลิศ การแข่งขันฟุตซอลนักเรียน กรมพลศึกษา ประจำปี 2559 ประเภททั่วไป ทุกรุ่น]</ref>
; [[พ.ศ. 2559]]
* เป็น 1 ในโรงเรียนที่มีอัตราการแข่งขันสูงของประเทศ ระดับมัธยมศึกษา ปีการศึกษา 2559<ref>http://www.nmrsw2.ac.th/St2558/St2559/racing-matyom59.pdf โรงเรียนที่มีอัตราการแข่งขันสูง ระดับมัธยมศึกษา ปีการศึกษา 2559</ref>
* รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่1 การแข่งขันสภานักเรียนในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับภาคกลางและภาคตะวันออก ครั้งที่ 66 และไปเป็นตัวแทนภาคกลางและภาคตะวันออกในการแข่งระดับชาติ<ref>[http://central66.sillapa.net/sm-center/result/local/sm-center_comp-199.htm งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับภาคกลางและภาคตะวันออก ครั้งที่ 66 ประจำปีการศึกษา 2559 สังกัดเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ที่[[จังหวัดจันทบุรี]]ระหว่าง วันที่ 16-18 [[ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2559]]]</ref>
* ได้อันดับที่ 10 เกียรติบัตรรางวัลระดับเหรียญทอง ในการแข่งขันสภานักเรียนในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับชาติ ครั้งที่ 66 ในฐานะตัวแทนภาคกลางและภาคตะวันออก <ref>[https://samutprakanschoolstudentcouncil.wordpress.com/tag/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%82%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%AA%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%B1/ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับชาติ ครั้งที่ 66 ประจำปีการศึกษา 2559 วันที่ 29-31 [[มกราคม]] [[พ.ศ. 2559]]]</ref>
* ผ่านเข้ารอบสามในการแข่งขัน[[ฟุตบอลแชมป์กีฬา 7 สี แชมเปี้ยนคัพ ปี 2016]] กลุ่มที่สอง
; [[พ.ศ. 2560]]
* เป็น 1 ในโรงเรียนที่มีอัตราการแข่งขันสูงของประเทศ ระดับมัธยมศึกษา ปีการศึกษา 2560<ref>http://plan.bopp-obec.info/tmp/upload/2016-09-21-12-31-36.pdf โรงเรียนที่มีอัตราการแข่งขันสูง ระดับมัธยมศึกษา ปีการศึกษา 2560</ref>
* รางวัลโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน ระดับประเทศ ประจำปี 2560 ประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษา{{อ้างอิง}}
; [[พ.ศ. 2561]]
* เป็น [[1 ใน 282]] โรงเรียนมัธยมศึกษายอดนิยมและโรงเรียนที่มีอัตราการแข่งขันสูงของประเทศ <ref>http://plan.bopp-obec.info/tmp/upload/2017-11-08-09-02-02.pdf โรงเรียนที่มีอัตราการแข่งขันสูง ระดับมัธยมศึกษา ปีการศึกษา 2561</ref>
 
== อาคารและหน่วยงานภายในโรงเรียนสมุทรปราการ ==
=== อาคาร ===
[[ไฟล์:อาคาร2.jpg|thumb||250px|อาคาร2โรงเรียนสมุทรปราการ (อาคารในอดีต)]]
* '''อาคาร1 ''' เป็นอาคารไม้ 3 ชั้นประกอบด้วย
** ชั้น1 ห้องประชุมศรีสมบูรณ์,ห้องธุรการ,ห้องบริหารการเงิน,บริหารต่างๆ
** ชั้น2 ทั้งชั้นเป็นห้องเรียนคอมพิวเตอร์และห้องกลุ่มสาระการเรียนรู้[[คอมพิวเตอร์]]
** ชั้น3 ทั้งชั้นเป็นห้องเรียนและห้องกลุ่มสาระการเรียนรู้[[คณิตศาสตร์]]
* '''อาคาร2''' อาคารเฉลิมฉลองครบ 100 ปีโรงเรียนสมุทรปราการ (อาคารไม้ 2 ชั้นในอดีต ปัจจุบันรื้อถอนเพื่อสร้างอาคาร 2 ใหม่)
* '''อาคาร2''' (อาคารใหม่) เป็นอาคารคอนกรีต 7 ชั้นประกอบด้วย
** ชั้น1 โรงอาหาร
** ชั้น2 ห้องพละ ห้องอาเซียน และห้องแนะแนว
** ชั้น3 ห้องเรียนและห้องพักครูอาจารย์คณิตศาสตร์
** ชั้น4 ห้องเรียน
** ชั้น5 ห้องเรียน
** ชั้น6 ห้องประชุม และห้องนันทนาการ
** ชั้น7 ดานฟ้า
* '''อาคาร3''' เป็นอาคารไม้ 3 ชั้นประกอบด้วย
** ชั้น1 เป็นห้องเรียนและห้องกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและ[[พลศึกษา]], ห้องปกครอง (สำนักงานกลุ่มงานบริหารงานบุคคล), ห้องกรรมการนักเรียน (ปัจจุบันย้ายไปอาคาร 4), ห้องพัสดุ, ห้องงานอาคารและสถานที่
** ชั้น2แชั้น3เป็นห้องเรียนและห้องกลุ่มสาระการเรียนรู้[[สังคมศึกษา]]
* '''อาคาร4''' เป็นอาคารคอนกรีต
** ชั้น1 เป็นสถานที่นั้งเล่นของนักเรียน และสถานที่ฝึกซ้อมชมรมยูโด
** ชั้น2 ห้องเรียนเกษตรอุตสาหกรรมห้องประชุมโสตทัศนศึกษา 1-2
** ชั้น3 ห้องประชุมทองนิรมล (ห้องประชุมใหญ่)
* '''อาคาร5 '''อาคารคอนกรีต 4 ชั้น
** ชั้น1 เป็นห้องสำนักงานผู้อำนวยการผู้อำนวยการ,ห้องสมุด
** ชั้น2 ห้องทดลอง ห้องเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้[[วิทยาศาสตร์]] บ้างส่วนเป็นห้องพิมพ์ดีด
** ชั้น3 ห้องเรียนและห้องกลุ่มสาระการเรียนรู้[[ศิลปะ]]
** ชั้น4 ห้องวงโยธวธิต,ห้องดนตรีไทย,ห้องเรียน
[[ไฟล์:Building 6 in2557.jpg|thumb||250px|อาคาร6โรงเรียนสมุทรปราการปี2557]]
* '''อาคาร6''' อาคารคอนกรีตสร้างขึ้นเพื่อเป็นอาคารเฉลิมพระเกียรติ ๖ รอบ พระชนมพรรษา ๗๒ พรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลที่ 9 มี 6 ชั้น
** ชั้น1 ห้องเรียนอุตสาหกรรม,ห้องเรียนสีเขียว,ห้องพักครู
** ชั้น2 ห้องเรียนอุตสาหกรรม ห้องกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานพื้นฐานอาชีพ ,ห้องเรียนเทคโนโลยีสารสนเทศ,ห้องเขียนแบบ
** ชั้น3 ห้องเรียนของหมวด[[วิทยาศาสตร์]]บางส่วน
** ชั้น4 ห้องเรียนธรรมดา
** ชั้น5 ห้องเรียนของหมวด[[ภาษาไทย]]
** ชั้น6 ห้องเรียนประจำของนักเรียน Gifted
* '''อาคาร7 '''อาคารคอนกรีต 4 ชั้น
** ชั้น1 โรงอาหาร สหกรณ์
** ชั้น2-3 ห้องเรียนของหมวด[[ภาษาต่างประเทศ]]ทั้งภาษาจีน,อังกฤษ,ญี่ปุ่น
** ชั้น3-4 ห้องเรียนประจำของนักเรียน MEP
* ห้องน้ำนักเรียนชาย
* ห้องน้ำนักเรียนหญิง
บรรทัด 303:
* กิจกรรมลองดีลองดู
** การแข่งขันโฟลค์ซอง ม.ต้น
** การแข้งขันโฟลค์ซอง ม.ปลาย
** การแข่งขันฟุตซอล ม.ต้น
** การแข่งขันฟุตซอล ม.ปลาย
* กิจกรรมสานสัมพันธ์สตรี-สป
 
== สถานที่ตั้งของโรงเรียน ==
[[ไฟล์:แผนที่โรงเรียนสมุทรปราการ.jpg |thumb||250px|แผนที่โรงเรียนสมุทรปราการ]]
* สถานที่ตั้ง
** เลขที่ 498 ถ.สุขุมวิท (กม.27) ต.ปากน้ำ อ.เมืองสมุทรปราการ จ. สมุทรปราการเนื้อที่ ทั้งหมด 17 ไร่
* แผนที่
 
=== สถานที่รอบๆโรงเรียนสมุทรปราการ ===
บรรทัด 320:
 
== บุคคลที่มีชื่อเสียง ==
* [[ทัศนัย โคตรทอง]] [[ผู้ประกาศข่าว]][[ไทยรัฐทีวี]]
* [[ประยูร วีระพูล]] [[ผู้ตัดสิน (ฟุตบอล)|ผู้ตัดสิน]][[ฟุตบอล]]
* [[ศุภวัฒน์ อ่ำประสิทธิ์]] นายแบบและนักแสดง
* [[สิทธิชัย สุวรประทีป]] อดีตนัก[[กรีฑาทีมชาติไทย]]
* [[เหรียญชัย สีหะวงษ์]] อดีตนัก[[กรีฑาทีมชาติไทย]]
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง|2}}
 
== บรรณานุกรม ==
* {{อ้างหนังสือ
| ผู้แต่ง = โรงเรียนสมุทรปราการ
| ชื่อหนังสือ = หนังสือรุ่นโรงเรียนสมุทรปราการ 129
| URL =
| จังหวัด = กรุงเทพฯ
| พิมพ์ที่ = บริษัท จามจุรีโปรดักส์ จำกัด เลขที่ 26 ซ.พระรามที่ 83 ถ.พระรามที่ 2 แขวงแสมดำ เขตบางขุนเทียน 10150
| ปี = พ.ศ. 2557
| ISBN =
| จำนวนหน้า = 120
| หน้า = 4 และ 5
บรรทัด 344:
| ผู้แต่ง = พระครูสุนทรสมุทร
| ชื่อหนังสือ = ตำนานวัดกลาง จังหวัดสมุทรปราการ ตามจดหมายเหตุความทรงจำ
| URL =
| จังหวัด = พระนคร
| พิมพ์ที่ = ม.ป.ท. พิมพ์แจกในงานศพท่านพระครูสุนทรสมุทร์ (จ้อย สุวัณ์ณสโร)
| ปี = 27 เมษายน พ.ศ. 2462
| ISBN =
| จำนวนหน้า =
| หน้า =