ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เมืองนาย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 49:
 
== ประวัติศาสตร์ ==
เจ้าฟ้าเมืองนายที่เป็นเมืองเก่าแก่เจริญรุ่งเรืองมาตั้งแต่อดีต โดยอยู่ในเขตภาคใต้ของรัฐฉาน ซึ่งได้ก่อตั้งมาเมื่อก่อน ค.ศ. 441 ในปี ค.ศ. 1319 เจ้ามังราย ได้ทำการฟื้นฟูเมืองนายและแต่งตั้งให้โอรสปกครอง เจ้าที่สืบเชื้อสายมาจากราชวงศ์เจ้ามังรายได้สิ้นสุดลงในปี ค.ศ. 1566 หรือ พ.ศ. 2109 เพราะ[[อาณาจักรตองอูโดยพระเจ้าบุเรงนอง]] เข้ายึดครองยึด ค.ศ. 1567 เป็นต้นมาเมืองนายขาดเจ้าผู้ปกครอง จึงได้อัญเชิญเจ้าเมืองสี่ป้อมาปกครอง และใน ค.ศ. 1631 ได้อัญเชิญเจ้าเมืองมีดมาปกครองสืบต่อมา ในปี ค.ศ.1772 เมืองนายเป็นศูนย์กลางของการปกครองเมืองไตสืบต่อจากเมืองแสนหวี รายชื่อเจ้าผู้ปกครองเมืองนายที่สามารถรวบรวมได้มีดังนี้
"เมืองนาย"เป็นเมืองเก่าแก่เจริญรุ่งเรืองมาตั้งแต่ครั้งอดีต โดยอยู่ในเขตภาคใต้ของรัฐฉาน ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำสาละวิน ด้านตะวันตกเฉียงเหนือของจังหวัดแม่ฮ่องสอนเป็นระยะทางประมาณ 200 กิโลเมตร โดยผ่านช่องทางห้วยผึ้ง "หัวเมือง" ท่าข้ามแม่น้ำสาละวิน ณ "ท่าสบเต็ง" "บ้านหาด" "ลางเคอ"และ"เมืองนาย" ซึ่งได้ก่อตั้งมาเมื่อก่อน ค.ศ. 441 หรือ พ.ศ. 984) และในปี ค.ศ. 1319 หรือ พ.ศ. 1862 พญามังราย ปฐมกษัตริย์นครเชียงใหม่แห่งอาณาจักรล้านนา 57 หัวเมืองขึ้น ได้ทำการฟื้นฟูเมืองนาย และทรงแต่งตั้งพระราชโอรสพระนามว่า"ขุนเครือ"ไปเป็นเจ้าฟ้าปกครองเมืองนาย สืบราชวงศ์กว่า 200 ปี จนถึงปี พ.ศ. 2094 กษัตริย์เชียงใหม่ว่างลง ครั้งนั้นบรรดาขุนนางในราชสำนักเมืองเชียงใหม่ศูนย์กลางอาณาจักรล้านนาได้เดินทางมายังเมืองนาย และทูลเชิญราชนิกุลผู้สืบเชื้อสายขุนเครือ แห่งราชวงศ์มังราย มายังเมืองเชียงใหม่ และราชาภิเษกเป็นกษัตริย์นครเชียงใหม่ ทรงพระนามว่า "พระเจ้าเมกุฏิสุทธิวงศ์" หรือ"ท้าวแม่กุ"ในตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ซึ่งเป็นกษัตริย์เชียงใหม่องค์สุดท้ายของราช วงศ์มังราย ก่อนตกเป็นเมืองขึ้นของพระเจ้าบุเรงนอง ที่กรีฑาทัพพร้อม 19 เจ้าฟ้า และทหาร 90,000 คนมาตีเมืองเชียงใหม่ ในปี พ.ศ. 2101 ต่อมาพระเจ้าเชียงใหม่พระองค์นี้ทำการ"ฟื้นม่าน"ก่อการขบถไม่รับอำนาจของพระเจ้าบุเรงนอง จึงส่งกองทัพเมืองหงสาวดีเข้ามาจับกุมเป็นเชลยนำพระองค์ไปกักบริเวณในเมืองหงสาวดี จนสิ้นพระชนม์ กลายเป็น"นัต"องค์หนึ่งที่ชาวเมืองหงสาวดี ให้การสักการะกราบไหว้บูชา
เจ้าฟ้าเมืองนายที่สืบเชื้อสายมาจากราชวงศ์มังรายได้สิ้นสุดลงในปี ค.ศ. 1566 หรือ พ.ศ. 2109 เพราะ[[อาณาจักรตองอูโดยพระเจ้าบุเรงนอง]] เข้ายึดครอง ค.ศ. 1567 เป็นต้นมาเมืองนายขาดเจ้าผู้ปกครอง จึงได้อัญเชิญเจ้าเมืองสี่ป้อมาปกครอง และใน ค.ศ. 1631 ได้อัญเชิญเจ้าเมืองมีดมาปกครองสืบต่อมา ในปี ค.ศ.1772 เมืองนายเป็นศูนย์กลางของการปกครองเมืองไตสืบต่อจากเมืองแสนหวี
 
รายชื่อเจ้าผู้ปกครองเมืองนายที่สามารถรวบรวมได้มีดังนี้
 
1.ขุนเครือ ราชโอรสของพญามังราย (ค.ศ.1319)
 
2. ราชวงศ์มังราย (จนถึงค.ศ.1519 หรือ 1566)
31.เจ้าเสือเผือกฟ้า (ค.ศ. 1567-1568)
 
42.โอรสเจ้าเสือเผือกฟ้า 2 องค์ ปกครองร่วมกัน (ค.ศ. 1568-1585)
 
53.กษัตริย์พม่าได้ส่งตัวแทนมาปกครอง (ค.ศ. 1585-1631)
 
64.เจ้าหลาคำ (โอรสเจ้าฟ้าเมืองมีด) (ค.ศ. 1631-1675)
 
75.เจ้าจ๋ามคำ (โอรสเจ้าหลาคำ) (ค.ศ. 1675-1678)
 
86.เจ้าเสือห่ม (โอรสเจ้าจ๋ามคำ) (ค.ศ. 1678-1704)
 
97.เจ้าขุนอ้าน (โอรสเจ้าเสือห่ม) (ค.ศ. 1704-1728)
 
108.เจ้าซูวคาด (โอรสเจ้าขุนอ้าน) (ค.ศ. 1728-1746)
 
119.เจ้าส่วย มยาด โน (โอรสเจ้าซูวคาด) (ค.ศ. 1746-1772)
 
*ในยุคนี้เป็นยุคที่เมืองนาย ได้เป็นศูนย์กลางของการปกครองเมืองไต
 
1210.เจ้าส่วย มยาด จยอ (โอรสเจ้าส่วย มยาด โน ) (ค.ศ. 1772-1790)
 
1311. เจ้าขุนส่วยหว่า (โอรสเจ้าส่วย มยาด จยอ ) (ค.ศ. 1790-1811)
 
1412. เจ้าจุ่ง (ขุนเมืองเจียงตอง) (ค.ศ. 1811-1842 )
 
1513. เจ้าขุนหนุ่ม (โอรส เจ้าขุนจุ่ง ) (ค.ศ. 1842-1868)
 
1614. เจ้าโพ (โอ้) (โอรสเจ้าขุนหนุ่ม) (ค.ศ. 1868 –1874)
 
1715. เจ้าขุนจี่ (ส่วยจี่) (อาว์เจ้าขุนโอ้) (ค.ศ. 1874-1884) เจ้าขุนจี่นี้ ได้ทำการฆ่าพม่า แล้วหนีไปอยู่ที่เชียงตุง
 
1816. ทากหลู่ (เคยเป็นพระมาก่อน มีเชื้อสาย ปะโอ ) (ค.ศ. 1884-1888)
 
1917. เจ้าขุนจี่ (จากเชียงตุงมาปกครองอีกครั้ง) (ค.ศ. 1888-1914)
 
2018. เจ้าขุนจ่อจ่าม (โอรสของพี่ชายเจ้าขุนจี่) (ค.ศ. 1914-1929)
 
2119. เจ้าจ่อโฮ (โอรสเจ้าขุนจ่อจ่าม) (ค.ศ. 1929-1948)
 
2220. เจ้าเปี้ย (โอรสเจ้าจ่อโฮ) (ค.ศ. 1948-1959)
 
เจ้าเปี้ย ผู้ปกครองเมืองนาย และบรรดาเจ้าฟ้าเมืองไตทั้งหมด ได้สละอำนาจให้กับรัฐบาลสหพันธรัฐไต เมื่อวันที่ 25 เมษายน ค.ศ. 1959 <ref>http://taiyai.net/Yurk%20Merngnai08.html</ref>
 
== อ้างอิง ==