ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เลขประจำตัวประชาชนไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
{{เว็บย่อ|Thai ID}}
{{เพิ่มอ้างอิง}}
'''เลขประจำตัวในบัตร4710100009511
'''เลขประจำตัวในบัตรประชาชนของคนไทย''' มีด้วยกัน 13 หลัก โดยแต่ละหลัก มีความหมายแตกต่างกันไป ทั้งนี้ ผู้อำนวยการสำนักทะเบียนกลาง [[กรมการปกครอง]] [[กระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)|กระทรวงมหาดไทย]] มีหน้าที่ในการกำหนดเลขประจำตัว แก่บุคคลที่อยู่ในราชอาณาจักร คนละหนึ่งเลขโดยไม่ซ้ำกัน และอาจยกเว้นแก่บุคคลบางจำพวก<ref>พระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534 มาตรา 16</ref> เช่นสมเด็จ[[พระราชินี]] และ[[พระบรมวงศานุวงศ์]]ชั้น[[พระองค์เจ้า]] เป็นต้น<ref>กฎกระทรวง ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534 ร.จ. เล่มที่ 109 ตอนที่ 93 หน้าที่ 24 วันที่ 11 กันยายน 2535</ref>
 
'''เลขประจำตัวในบัตรประชาชนของคนไทย''' มีด้วยกัน 13 หลัก โดยแต่ละหลัก มีความหมายแตกต่างกันไป ทั้งนี้ ผู้อำนวยการสำนักทะเบียนกลาง [[กรมการปกครอง]] [[กระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)|กระทรวงมหาดไทย]] มีหน้าที่ในการกำหนดเลขประจำตัว แก่บุคคลที่อยู่ในราชอาณาจักร คนละหนึ่งเลขโดยไม่ซ้ำกัน และอาจยกเว้นแก่บุคคลบางจำพวก<ref>พระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534 มาตรา 16</ref> เช่นสมเด็จ[[พระราชินี]] และ[[พระบรมวงศานุวงศ์]]ชั้น[[พระองค์เจ้า]] เป็นต้น<ref>กฎกระทรวง ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534 ร.จ. เล่มที่ 109 ตอนที่ 93 หน้าที่ 24 วันที่ 11 กันยายน 2535</ref>
 
โดยเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2527 กรมการปกครอง ซึ่งเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบทะเบียนราษฎร ประกาศกำหนดให้บุคคลภายในประเทศไทย ต้องมีเลขประจำตัวประชาชน ปรากฏในทะเบียนบ้านและบัตรประจำตัวประชาชน และกำหนดให้ต้องดำเนินการจนเสร็จสิ้นทั้งหมด ภายในวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 เนื่องจากก่อนหน้านี้ ประเทศไทยยังไม่เคยกำหนดเลขประจำตัวเช่นนี้มาก่อน ดังนั้นจึงกำหนดระยะเวลาดังกล่าว เพื่อจัดระบบทะเบียนราษฎรให้เทียบเท่านานาประเทศ โดยบุคคลภายในประเทศไทยทั้งหมด จะต้องมีเลขประจำตัวประชาชน เพื่อแสดงตนว่าเป็นบุคคลประเภทใด โดยดูตามเงื่อนไขในแต่ละกรณี