ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดวงอาทิตย์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Restrospect (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มเนื้อหา
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 7657103 โดย EZBELLAด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1:
 
พีชวัดตอง
อยู่ปากน้ำ
เจอได้ แก๊งพวกเยอะ
@Tanaboon Anuchitdeycha
1-1 แพ้เสีย 100,000
 
 
 
{{ระวังสับสน|พระอาทิตย์}}
{{ความหมายอื่น||อาทิตย์ในความหมายอื่น|อาทิตย์}}
{{บทความคุณภาพ}}
<!--กรุณาข้ามส่วนนี้ไปเพื่อแก้ไขเนื้อหา-->
เส้น 177 ⟶ 167:
|}
<!--สิ้นสุดกล่องข้อมูล-->
{{ความหมายอื่น||อาทิตย์ในความหมายอื่น|อาทิตย์}}
 
'''ดวงอาทิตย์'''เป็น[[ดาวฤกษ์]] ณ ใจกลาง[[ระบบสุริยะ]] เป็น[[พลาสมา (สถานะของสสาร)|พลาสมา]]ร้อนทรงเกือบกลมสมบูรณ์ โดยมีการเคลื่อนท่พาซึ่งผลิตสนามแม่เหล็กผ่านกระบวนการไดนาโม ปัจจุบันเป็นแหล่งพลังงานสำคัญที่สุดสำหรับสิ่งมีชีวิตบนโลก มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1.39 ล้านกิโลเมตร ใหญ่กว่าโลก 109 เท่า และมีมวลประมาณ 330,000 เท่าของโลก คิดเป็นประมาณ 99.86% ของมวลทั้งหมดของระบบสุริยะ มวลประมาณสามในสี่ของดวงอาทิตย์เป็นไฮโดรเจน ส่วนที่เหลือเป็นฮีเลียมเป็นหลัก โดยมีปริมาณธาตุหนักกว่าเล็กน้อย รวมทั้งออกซิเจน คาร์บอน นีออนและเหล็ก
เส้น 182 ⟶ 173:
ดวงอาทิตย์เป็น[[ดาวแคระเหลือง|ดาวฤกษ์ลำดับหลักระดับจี]] (G2V) ตาม[[การจัดประเภทดาวฤกษ์]] ซึ่งเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า "ดาวแคระเหลือง" ดวงอาทิตย์เกิดเมื่อประมาณ 4.6 พันล้านปีก่อนจากการยุบทางความโน้มถ่วงของสสารภายในบริเวณเมฆโมเลกุลขนาดใหญ่ สสารนี้ส่วนใหญ่รวมอยู่ที่ใจกลาง ส่วนที่เหลือแบนลงเป็นแผ่นโคจรซึ่งกลายเป็นระบบสุริยะ มวลใจกลางร้อนและหนาแน่นมากจนเริ่มเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชั่น ณ แก่น ซึ่งเชื่อว่าเป็นกระบวนการเกิดดาวฤกษ์ส่วนใหญ่
 
ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณครึ่งอายุขัย ไม่มีการเปลี่ยนแปลงมากนักเป็นเวลากว่า 4 พันล้านปีมาแล้วและจะค่อนข้างเสถียรไปอีก 5 พันล้านปี หลังฟิวชันไฮโดรเจนในแก่นของมันลดลงถึงจุดที่ไม่อยู่ในดุลยภาพอุทกสถิตต่อไป แก่นของดวงอาทิตย์จะมีความหนาแน่นและอุณหภูมิเพิ่มขึ้นส่วนชั้นนอกของดวงอาทิตย์จะขยายออกจนสุดท้ายเป็น[[ดาวยักษ์แดง]] มีการคำนวณว่าดวงอาทิตย์จะใหญ่พอกลืนวงโคจรงงงงงงงงงงจุบันปัจจุบันของ[[ดาวพุทธ]]และ[[ดาวศุกร์]] และทำให้โลกอาศัยอยู่ไม่ได้
 
มนุษย์ทราบความสำคัญฤทธิ์ใหญ่หลวงของดวงอาทิตย์ที่มีต่อโลกมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ และบางวัฒนธรรมถือดวงอาทิตย์เป็น[[เทวดา]] การหมุนของโลกและวงโคจรรอบดวงอาทิตย์ของโลกเป็นรากฐานของปฏิทินสุริยคติ ซึ่งเป็นปฏิทินที่ใช้กันแพร่หลายในปัจจุบัน
 
== ภาพรวมเกี่ยวกับดวงอาทิตย์ ==
เส้น 295 ⟶ 286:
=== ความเข้าใจในอดีต ===
มนุษย์ในอดีตรู้เกี่ยวกับดวงอาทิตย์เพียงเป็นลูกไฟกลม ขึ้นจากท้องฟ้าในทิศตะวันออกทำให้เกิดกลางวัน และตกลงไปทางทิศตะวันตกทำให้เกิดกลางคืน ดวงอาทิตย์ให้ทั้งความสว่าง ความร้อน ความอบอุ่น ตลอดจนความหวังในจิตใจ จนมีการนับถือดวงอาทิตย์ให้เป็นเทพเจ้า มีการบูชายัญถวายเทพพระอาทิตย์ของชาว[[อัซเตก]] (Aztec) ซึ่งปัจจุบันอยู่ใน[[ประเทศเม็กซิโก]] นอกเหนือจากนี้ มนุษย์ในสมัยโบราณยังได้สร้างสิ่งประดิษฐ์สำหรับบอกตำแหน่งของดวงอาทิตย์ใน[[วันอุตรายัน]] (Summer solstice) ซึ่งเป็นวันที่กลางวันยาวที่สุดในรอบปี คือประมาณวันที่ 24 มิถุนายน เช่นที่เสาหิน[[สโตนเฮนจ์]] ใน[[ประเทศอังกฤษ]] และ[[พีระมิด]][[เอลกัสตีโย]] (El Castillo) ประเทศเม็กซิโก
[[ไฟล์:D85 1116 Sunset in Thailand photographed by Trisorn Triboon.jpg|thumb|ดวงอาทิตย์ตกยามเย็นคล้ายระเบิดนิวเคลียร์ในหนังฮอลลีวู๊ด]]
 
=== การพัฒนาแนวความคิดสมัยใหม่ ===