ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาผู้ไท"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 111:
*เข้า = เห้า
*ข้าว = เห้า
*ขาด = หาดฮาด
*ขัน = หัน (ขันน็อต,ไก่ขัน)
*ขอด (มัด) = หอดฮอด
*เขี้ยว (ฟัน) = แห้ว
*ขัดข้อง (ยุ่งเหยิง) = ห้อง
บรรทัด 120:
*เขียง = เหง
*ข้อมือ,ข้อเท้า = ห้อมือ, ห้อตีน
*ขาย = หาย
*ขอน = หอน
*เขา (เขาสัตว์) = เหา
 
2. สระ "ใ" ในภาษาไทยจำนวน 15 คำ (อีก 4 คำ คือ ใฝ่,ใคร่,หลงใหล,ใช่ ไม่มีในภาษาผู้ไท ส่วนคำว่า ใส ใช้เหมือนกันกับภาษาไทย) ออกเสียงเป็น "เออ" และสระ "ไ" บางคำก็ออกเสียงเป็น "เออ" เช่น
*ใหญ่ = เหญ่อเญอ
*ใหม่ = เหม่อเมอ
*ให้ = เห้อ
*ลูกสะใภ้ = ลุเภ้อ
*ใช้ = เซ้อ
*ใจ = เจอเจ๋อ
*ใส่ = เส่อเซอ
*ใคร = เพอ
*ใบ = เบอเบ๋อ
*ใด,ไร = เลอ
*ใน = เนอ, เด้อ
*ใต้ =เต้อ
*ใบ้ = เบ้อ
เส้น 139 ⟶ 142:
*ไหม (ปรับ) = เหมอ
*ตะไคร้, หัวสิงไค = โหซิเคอ
*ไต = เตอเต๋อ
*ใด,ไร,ไหร่,ไหน = เลอ
เส้น 146 ⟶ 149:
*ผัว = โผ
*ห้วย = โห้ย
*ตัว = โต,กะโต,ตนโต,คีง
*ชั่ว = โซ่โซ้
*เมีย = เม
*เมี่ยง = เม่ง
*เขี่ย = เขเคว่
*เขียด = เขวดเควด
*เขียน = เขน
*เกวียน = เกนเก๋น
*เรียน = เฮน
*เลี้ยว = เล้ว
*มะเขือ = มะเขอ
*เรือ = เฮอ
*เหงื่อ = เห่อเฮอ
*ชวน = โซน, โซ
 
4. คำที่ใช้สระเสียงยาวแล้วสะกดด้วย "ก" จะเปลี่ยนเป็นสระเสียงสั้น ไม่ออกเสียง "ก" เช่นเดียวกับภาษาไทถิ่นใต้ฝั่งตะวันตก และภาษาไทดำ ไทขาว พวน เช่น
*ลูก = ลุลุ๊
*บอก = เบ๊าะ
*แตก = แต๊ะ
*ตอก = เต๊าะ
*ลอก = เลาะเล๊าะ, ลู่น
*หนอก = เนาะเน๊าะ
*ยาก = ญะญ๊ะ
*ฟาก,ฝั่ง = ฟะฟ๊ะ
*หลีก = ลิลิ๊
*ปีก = ปิ๊
*หากราก =หะฮะ
*กาก=ก๊ะ
*อยาก = เยอะเย๊อะ
*เลือก = เลอะเล๊อะ
*น้ำเมือก = น้ำเมอะเม๊อะ
*น้ำมูก = ขี้มุ
*ผูก = พุพุ๊
*หยอก = เย๊าะ
 
5. ภาษาผู้ไทใช้คำที่แสดงถึงการปฏิเสธว่า มี,หมี่ หรือเมื่อพูดเร็วก็จะออกเสียงเป็น มิ เช่นเดียวกับภาษาไทยโบราณ ภาษาจ้วง (bou,mi) และภาษาลื้อบางแห่ง เช่น
เส้น 223 ⟶ 227:
*พูดคุย,สนทนา = แอ่น
*เกลี้ยกล่อม = โญะ, เญ๊า
*หัน = ปิ่น, อวาย, ว้าย (หันมาภาษาลาวว่า =งวก, ปิ่นมาอ่วย)
*ย้ายข้าง = ว้าย (ภาษาลาวว่า อ่วย)
*ขอร้อง,วิงวอน = แอ่ว
*กันนักกันหนา = กะดักกะด้อ