ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศญี่ปุ่น"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 302:
ใน พ.ศ. 2548 ร้อยละ 50 ของพลังงานที่ใช้ในญี่ปุ่นผลิตจาก[[ปิโตรเลียม]] ร้อยละ 20 จาก[[ถ่านหิน]] ร้อยละ 14 จาก[[ก๊าซธรรมชาติ]]<ref name=energy>[http://www.stat.go.jp/english/data/handbook/c07cont.htm Chapter 7 Energy]{{dead link|date=พฤษภาคม 2560}}, Statistical Handbook of Japan 2007</ref> การผลิตพลังงานไฟฟ้าจากนิวเคลียร์มีปริมาณหนึ่งในสี่ของการผลิตไฟฟ้าทั้งหมด<ref name=energy/> แต่หลังจากเกิดเหตุ[[อุบัติเหตุนิวเคลียร์ฟูกูชิมะไดอิชิ]] รัฐบาลญี่ปุ่นก็วางแผนที่จะเลิกใช้พลังงานนิวเคลียร์ภายในทศวรรษที่ 2570<ref>{{cite web|url=http://www.reuters.com/article/2012/09/14/us-japan-nuclear-idUSBRE88D05520120914|title=Japan aims to abandon nuclear power by 2030s|publisher=Reuters|date=2012-09-14|accessdate=2012-09-21}}</ref>
 
ญี่ปุ่นมีบริษัทรถไฟหลายแห่ง เช่น[[กลุ่มบริษัทรถไฟญี่ปุ่น]] รถไฟฮังคิว รถไฟเซบุ และบริษัทเคโอ ซึ่งแข่งขันกันด้านบริการในพื้นที่ต่าง ๆ ปัจจุบันที่[[ชินชิงกันเซ็ง|รถไฟชินชิงกันเซ็ง]]ซึ่งเปิดใช้ตั้งแต่ พ.ศ. 2507 มีเครือข่ายเชื่อมโยงเมืองหลักเกือบทั่วประเทศ รถไฟของญี่ปุ่นเป็นที่รู้จักในเรื่องตรงต่อเวลา<ref>จนเป็นต้นเหตุสำคัญของอุบัติเหตุรถไฟตกรางที่จังหวัดเฮียวโงะใน พ.ศ. 2548 [http://news.bbc.co.uk/2/hi/talking_point/4481721.stm Japan's train crash: Your reaction] BBC News 2005-05-02</ref> ทางรถไฟญี่ปุ่น ระยะทางรวมทั้งสิ้น23,474 กิโลเมตรแบ่งเป็น ราง 1.435 เมตร สำหรับวิ่งรถไฟความเร็วสูงหรือรถไฟใต้ดินหลายเมือง ระยะทาง 2,664 กม รางรถไฟ 1.067 เมตร สำหรับรถไฟฟ้าชานเมืองรถไฟทางใกล ระยะทาง 22,445 กม.
ทางด่วนแห่งชาติ ของประเทศญี่ปุ่นมีระยะทางทั้งสิ้น 11,520 กิโลเมตร
การเดินทางโดยเครื่องบินเป็นที่นิยมและมี[[รายชื่อท่าอากาศยานในประเทศญี่ปุ่น|สนามบิน]] 173 แห่งทั่วประเทศ [[สนามบินฮาเนดะ]]ที่ส่วนใหญ่ให้บริการเที่ยวบินภายในประเทศเป็นสนามบินที่[[อันดับท่าอากาศยานที่มีความหนาแน่นสูงสุดในกรณีจำนวนผู้โดยสาร|หนาแน่นที่สุดในเอเชีย]]<ref>{{cite web|url=http://www.airports.org/cda/aci_common/display/main/aci_content07_c.jsp?zn=aci&cp=1-5-212-218-222_666_2__|title=Year to date Passenger Traffic|publisher=Airports Council International|date=2008-08}}</ref> สนามบินนานาชาติที่สำคัญได้แก่[[สนามบินนาริตะ]] [[สนามบินคันไซ]] และ[[สนามบินนานาชาตินาโงยา]] แต่การก่อสร้างสนามบินบางแห่งเป็นเพียงส่วนหนึ่งของการใช้งบประมาณเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจมากกว่าเพื่อประโยชน์ใช้สอยจริง<ref>{{cite web|url=http://query.nytimes.com/gst/fullpage.html?res=9500E3DC1031F932A35750C0A961958260|title=Japan's Road to Deep Deficit Is Paved With Public Works|publisher=The New York Times|date=1997-03-01|accessdate=2008-11-23}}</ref> สนามบินบางแห่งขาดทุนมาตลอดตั้งแต่เปิดทำการ<ref>{{cite web|url=http://www.fukuoka-now.com/jp/news/show/1860|title=Outlook Bleak for Saga Airport Profitability|publisher=Fukuoka Now|date=2008-07-31|accessdate=2008-11-23}}</ref>