ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิวัฒนาการเบนออก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
แปลจากวิกีอังกฤษ
 
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับข้อมูลและสำนวน
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Darwin's finches.jpeg|right|thumb|
นกจาบปีกอ่อนของ[[ชาลส์ ดาร์วิน|ดาร์วิน]]เป็นตัวอย่างที่ชัดเจนและมีชื่อเสียงในกระบวนการวิวัฒนาการเบนออก ที่สปีชีส์บรรพบุรุษ[[แผ่ปรับตัว]]กลายเป็นสปีชีส์ลูกหลานต่าง ๆ ซึ่งมี[[ลักษณะสืบสายพันธุ์]]ที่ทั้งเหมือนกับกันและไม่เหมือนกัน
]]
<!-- บทอื่น ๆ ที่เปลี่ยนทางมายังบทความนี้:
บรรทัด 8:
'''วิวัฒนาการเบนออก'''<ref name=RoyalDict>{{Citation | title = divergent evolution | quote = (พฤษศาสตร์) วิวัฒนาการเบนออก | work = ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑ ฉบับ ๒๕๔๕ }}</ref>
({{lang-en |divergent evolution}})
เป็นการสะสมความแตกต่างระหว่างกลุ่มสิ่งมีชีวิต ซึ่งนำไปสู่[[การเกิดสปีชีส์]]ใหม่ ๆ
แต่ก็สามารถใช้กับรูปแบบทางชีววิทยาระดับโมเลกุล เช่น หมายถึง[[โปรตีน]]อนุพันธ์ต่าง ๆ ของยีนที่มีกำเนิดเดียวกัน (homologous genes) สองยีนหรือมากกว่านั้น
ดังนั้น ทั้งยีนแบบ orthologous (คือยีนกำเนิดเดียวกันที่สืบมาจาก[[การเกิดสปีชีส์]]) และแบบ paralogous (คือยีนกำเนิดเดียวกันที่มาจากการเพิ่มขึ้นของยีน {{bracket |gene duplication}}) สามารถมีความต่างที่จัดว่ามาจากวิวัฒนาการเบนออก
บรรทัด 14:
 
ความคล้ายคลึงกันระหว่างสปีชีส์ที่วิวัฒนาการเบนออกจากกันมาจากการมีกำเนิดเดียวกัน ดังนั้น จึงจัดว่ามีต้นกำเนิดเดียวกัน (homologous)
เปรียบเทียบกับ [[วิวัฒนาการเบนเข้า]]ที่เกิดเมื่อสิ่งมีชีวิต[[การปรับตัว (ชีววิทยา)|ปรับตัว]]อย่างเป็นอิสระจากกันและกันแล้วเกิดโครงสร้างคล้ายกัน ซึ่งจัดเป็นโครงสร้างคล้ายกันแต่มีกำเนิดต่างกัน (analogous) เช่น ปีกของ[[นก]]และของ[[แมลง]]
 
== การใช้คำ ==
บรรทัด 25:
</ref>
 
อนึ่ง วิวัฒนาการเบนออกของ[[หมาบ้าน]]และ[[หมาป่า]]จาก[[การสืบเชื้อสายร่วมกัน|บรรพบุรุษเดียวกัน]] ก็เป็นอีกตัวอย่างหนึ่ง<ref>{{cite web | url = http://www.biomedcentral.com/1741-7007/8/20/ | title = Unraveling the mysteries of dog evolution | accessdate = 2016-02-02}}</ref>
งานศึกษา[[ดีเอ็นเอ]]ของ[[ไมโทคอนเดรีย]]ในหมาบ้านและหมาป่า พบว่า มีการเบนออกมากมายจากกันอย่างมาก แต่งานก็ยังสนับสนุน[[สมมติฐาน]]ว่า หมาบ้านเป็นลูกหลานของหมาป่า<ref>{{cite journal | url = http://science.sciencemag.org/content/276/5319/1687 | title = Multiple and Ancient Origins of the Domestic Dog | first1 = Carles | last1 = Vilà | first2 = Peter | last2 = Savolainen | first3 = Jesús E. | last3 = Maldonado | first4 = Isabel R. | last4 = Amorim | first5 = John E. | last5 = Rice | first6 = Rodney L. | last6 = Honeycutt | first7 = Keith A. | last7 = Crandall | first8 = Joakim | last8 = Lundeberg | first9 = Robert K. | last9 = Wayne | date = 1997-06-13 | volume = 276 | issue = 5319 | pages = 1687-1689 | accessdate = 2016-12-014 | via = www.sciencemag.org | doi = 10.1126/science.276.5319.1687 | pmid = 9180076}}</ref>
 
[[การเกิดสปีชีส์]] คือการเบนออกของสปีชีส์หนึ่งกลายเป็นสปีชีส์ลูกหลานสองสปีชีส์หรือเกินกว่านั้น เกิดเมื่อประชากรส่วนหนึ่งของสปีชีส์แยกออกจากกลุ่มหลัก ซึ่งแล้วทำให้ผสมพันธุ์กันไม่ได้
ในการเกิดสปีชีส์ต่างบริเวณและรอบบริเวณ อุปสรรคเครื่องกีดขวางการผสมพันธุ์มาจากเป็นอุปสรรคทางกายภาพ (เช่น [[น้ำท่วม]] [[เทือกเขา]] [[ทะเลทราย]]เป็นต้น)
เมื่อแยกจากกันแล้ว กลุ่มที่แยกจากกันก็จะเริ่มปรับตัวเข้ากับ[[สิ่งแวดล้อม]]ของตนเอง ๆ ผ่านกระบวน[[การเปลี่ยนความถี่ยีนอย่างไม่เจาะจง]]และ[[การคัดเลือกโดยธรรมชาติ]]
หลังจากผ่านไปหลายชั่วยุคโดยวิวัฒนาการอย่างต่อเนื่อง กลุ่มทั้งสองก็จะไม่สามารถผสมพันธ์กับกันและผสมพันธุ์กันได้แม้มาพบอยู่รวมกันใหม่อีก<ref>{{cite web | url = http://evolution.berkeley.edu/evolibrary/article/speciationmodes_05 | title = Sympatric speciation | accessdate = 2016-02-02}}</ref>
 
== ดูเพิ่ม ==
บรรทัด 41:
 
[[หมวดหมู่:ชีววิทยาวิวัฒนาการ]]
[[en:Divergent evolution]]