ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาผู้ไท"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
→‎พยางค์: ลักษณะเด่นของภาษาผู้ไท
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 102:
 
== ลักษณะเด่นของภาษาผู้ไท==
1. พยัญชนะ "ข,ฆ" ในภาษาไทยและลาว-อีสานบางคำ ออกเสียงเป็น "ห"/h/ เช่น
*แขน = แหน
*ขา = หา
*ฆ่า = ฮ่า
*เข็ม = เห็ม
เข้า = เห้า
ข้าว *เข้า = เห้า
เข้า *ข้าว = เห้า
*ขาด = หาด
*ขัน = หัน (ขันน็อต,ไก่ขัน)
*ขอด (มัด) = หอด
*เขี้ยว (ฟัน) = แห้ว
*ขัดข้อง (ยุ่งเหยิง) = ห้อง
*ของ = หอง
*ขึ้น = หึ้น
*เขียง = เหง
*ข้อมือ,ข้อเท้า = ห้อมือ, ห้อตีน
 
2. สระ "ใ" ในภาษาไทยจำนวน 15 คำ (อีก 4 คำ คือ ใฝ่,ใคร่,หลงใหล,ใช่ ไม่มีในภาษาผู้ไท ส่วนคำว่า ใส ใช้เหมือนกันกับภาษาไทย) ออกเสียงเป็น "เออ" และสระ "ไ" บางคำก็ออกเสียงเป็น "เออ" เช่น
*ใหญ่ = เหญ่อ
*ใหม่ = เหม่อ
*ให้ = เห้อ
*ลูกสะใภ้ = ลุเภ้อ
*ใจ = เจอ,หูเจอ
*ใช้ = เซ้อ
*ใด,ไร = เลอ
*ใส่ = เส่อ
*ใคร = เพอ
*ใบ = เบอ
*ใต้ =เต้อ
*ใบ้ = เบ้อ
*ใย = เยอ
*ไหม (ปรับ) = เหมอ
*ตะไคร, หัวสิงไค = โหซิเคอ
*ไต = เตอ
 
3. ภาษาผู้ไทใช้แต่เพียงสระเดี่ยว ไม่มีสระผสม เช่นเดียวกับภาษาลื้อ ไตขืน ไทใหญ่ เช่น
*ผัว = โผ
*ห้วย = โห้ย
*ตัว = ตัว
*ชั่ว = โซ่
*เมีย = เม
*เมี่ยง = เม่ง
*เขี่ย = เขว่
*เขียด = เขวด
*เขียน = เขน
*เกวียน = เกน
*เรียน = เฮน
*เลี้ยว = เล้ว
*มะเขือ = มะเขอ
*เรือ = เฮอ
*เหงื่อ = เห่อ
*ชวน = โซน, โซ
 
4. คำที่ใช้สระเสียงยาวแล้วสะกดด้วย "ก" จะเปลี่ยนเป็นสระเสียงสั้น ไม่ออกเสียง "ก" เช่นเดียวกับภาษาไทถิ่นใต้ฝั่งตะวันตก และภาษาไทดำ ไทขาว พวน เช่น
*ลูก = ลุ
*บอก = เบ๊าะ
*แตก = แต๊ะ
*ตอก = เต๊าะ
*ลอก = เลาะ, ลู่น
*หนอก = เนาะ
*ยาก = ญะ
*ฟาก,ฝั่ง = ฟะ
*หลีก = ลิ
*ปีก = ปิ๊
*หาก =หะ
*กาก=ก๊ะ
*อยาก = เยอะ
*เลือก = เลอะ
*น้ำเมือก = น้ำเมอะ
*น้ำมูก = ขี้มุ
*ผูก = พุ
 
5. ภาษาผู้ไทใช้คำที่แสดงถึงการปฏิเสธว่า มี,หมี่ หรือเมื่อพูดเร็วก็จะออกเสียงเป็น มิ เช่นเดียวกับภาษาไทยโบราณ ภาษาจ้วง (bou,mi) และภาษาลื้อบางแห่ง เช่น
*ไม่ได้ = มีได้
*ไม่บอก = มีเบ๊าะ
*ไม่รู้ = มีฮู้, มีฮู้จัก,มีจัก,จักแล้
*ไม่เห็น = มีเห็น
*ไม่พูดไม่จา = มีเว้ามีจา
 
6. คำที่วางท้ายประโยคคำถาม คือคำว่าอะไร,ทำไม,ไหน,ใคร,ใด-ไร,จะใช้แตกต่างจากภาษาไทยดังนี้
*อะไร = ผะเหลอ,ผิเหลอ,อันเลอ
*ทำไม = เอ็ดเผอ
*ไหน = ซิเลอ,สะเลอ,เนอเหอ
*ใคร = เพอ-ผู้เลอ
*ใด-ไร = เลอ
 
7. บางคำมีการออกเสียงต่างจากภาษาไทย ดังนี้
เส้น 196 ⟶ 197:
8. คำเฉพาะถิ่น เป็นคำที่มีใช้เฉพาะในภาษาผู้ไท และอาจมีใช้ร่วมกับภาษาอื่นที่เคยมีวัฒนธรรมร่วมกัน เช่น
*ดวงตะวัน = ตะเง็น, ขี้ตะเง็น
*ดวงเดือน = โต๊ต่าน, เดิน
*ประตูหน้าต่าง = ปะตูบ่อง, ป่องเอ้ม
*ขี้โม้ = ขี้จะหาว
*ขึ้นรา = ตึกเหนา
*น้ำหม่าข้าว, น้ำส่งกลิ่นเหม็นเน่า = น้ำโม๊ะ
*สวย = ซับ
*หัวเข่า = โหโค้ย
*ลูกอัณฑะ = มะขะหลำ
*หัวใจ = มะหูเจอ,หูเจอ
*ตาตุ่ม = ปอเผอะ,ปอมเผอะ
*ท้ายทอย = ง้อนด้น
*เอว = โซ่ง, กะโท้ย,แอว
*ถ่านก่อไฟ = ก้อมี่
*พูดคุย, สนทนา = แอ่น
*เกลี้ยกล่อม = โญะ
*หัน = ปิ่น (หันมา = ปิ่นมา)
*ย้ายข้าง = ว้าย (ภาษาลาวว่า อ่วย)
*ขอร้อง,วิงวอน = แอ่ว
กันนักกันหนา = กะดักกะด้อ
มาก,ยิ่ง *กันนักกันหนา = แฮง,กะดักกะด้อ-กะด้อ,หลาย
*มาก,ยิ่ง = แฮง,กะดักกะด้อ-กะด้อ,หลาย
*จริง = เพิ้ง,แท้
*นึกว่า = ตื่อหวะ, กะเด๋วหวะ, เด๋วหวะ
*พะวงใจ = ง้อ,คึดง้อ
*อุทานไม่พอใจ = เยอ! เยอะ!
*ไปโดยไม่หันกลับมา = ไปกิ่นๆ, ไปกี่ดี่ๆ
 
== อ้างอิง ==