ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ราชกุมารี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขที่ 7669028 สร้างโดย 182.52.29.83 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 13:
|style = Her Royal Highness<br>Ma'am
|residence = [[พระราชวังเซนต์เจมส์]]
|appointer = [[พระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักร|กษัตริย์สหราชอาณาจักร]]
|termlength = ตลอดพระชนม์
|formation =
บรรทัด 24:
'''ราชกุมารี'''<ref>ราชบัณฑิตยสถาน, ''สารานุกรมประวัติศาสตร์สากลสมัยใหม่ : ยุโรป เล่ม ๓ อักษร E-G'', กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2543, หน้า 30.</ref> ({{lang-en|The Princess Royal}}<ref>The Royal Family: Royal Titles. "[http://web.archive.org/web/20080727135946/http://www.royal.gov.uk/output/Page5660.asp Style and Title of the Princess Royal]." - Royal.gov.uk Retrieved 16 June 2008.</ref>) เป็นพระอิสริยยศตามราชประเพณี (แต่ไม่เป็นแบบอัตโนมัติ) ซึ่งพระมหากษัตริย์พระราชทานแก่พระราชธิดาพระองค์ใหญ่ที่สุด พระอิสริยยศนี้ดำรงอยู่ตลอดพระชนม์ชีพของเจ้าหญิงพระองค์นั้น ดังนั้นจึงไม่สามารถที่จะสถาปนาเจ้าหญิงพระองค์อื่นให้เป็นราชกุมารีอีกพระองค์ได้ (โดยเฉพาะอย่างยิ่ง[[สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร|สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2]] ไม่เคยทรงดำรงตำแหน่งราชกุมารีเลย) จวบจนถึงปัจจุบันนี้ได้มีราชกุมารีมาแล้วทั้งสิ้น 7 พระองค์<ref>"[http://www.royal.gov.uk/ThecurrentRoyalFamily/ThePrincessRoyal/ThePrincessRoyal.aspx "The Princess Royal], The British Monarchy". Royal.gov.uk. ''(Retrieved 2010-01-12.)</ref><ref>[http://www.heraldica.org/faqs/britfaq.html#p2-34 35. Who were the princesses who bore the style "Princess Royal"?]</ref> โดยพระองค์ล่าสุดคือ [[เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี]]
 
พระอิสริยยศนี้เกิดขึ้นเมื่อ[[เฮนเรียตตา มาเรียแห่งฝรั่งเศส สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ|สมเด็จพระราชินีเฮนเรียตตา มาเรีย]] ([[พ.ศ. 2252]] - [[พ.ศ. 2312]]) พระราชธิดาใน[[พระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส]] และพระมเหสีใน[[พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ]] มีพระประสงค์ที่จะเลียนแบบการสถาปนาพระอิสริยยศ "Madame Royale" ให้กับพระราชธิดาพระองค์ใหญ่ของกษัตริย์ฝรั่งเศส พระอิสริยยศนี้จะต้องได้รับพระบรมราชานุญาต (Royal Warrant) ไม่ใช่สถาปนาจากพระราชสัญญาบัตร (Letters Patent) และไม่ได้พระราชทานแก่พระราชธิดาพระองค์ใหญ่โดยอัติโนมัติ หากแต่จะเป็นการแต่งตั้งจากพระราชวินิจฉัยของพระมหากษัตริย์
 
[[สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษ|เจ้าหญิงแมรี (หรือ สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2)]] ([[พ.ศ. 2208]] - [[พ.ศ. 2237]]) พระราชธิดาพระองค์ใหญ่ใน[[พระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ|พระเจ้าเจมส์ที่ 2]] และสมเด็จพระราชินีมเหสีใน[[พระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ]] ([[พ.ศ. 2193]] - [[พ.ศ. 2245]]) และ[[โซฟี โดโรเทอาแห่งฮันโนเวอร์ สมเด็จพระราชินีแห่งปรัสเซีย|เจ้าหญิงโซฟี โดโรเทอา]] พระราชธิดาเพียงพระองค์เดียวใน[[พระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งบริเตนใหญ่|พระเจ้าจอร์จที่ 1]] และต่อมาเป็นพระราชินีมเหสีใน[[พระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 1 แห่งปรัสเซีย]] ทั้งสองทรงเหมาะสมกับพระอิสริยยศนี้ หากแต่ไม่ทรงได้รับพระราชทาน
 
== รายพระนามราชกุมารี ==
บรรทัด 57:
 
== ราชกุมารีในประเทศไทย ==
[[พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์]] ได้ทรงพระนิพนธ์แปลพระอิสริยยศ Princess Royal ไว้ในหนังสือ[[เกิดวังปารุสก์]] และพระนิพนธ์อีกหลายเล่มว่า '''เจ้าฟ้าพระวรราชกุมารี''' บ้างทรงทับศัพท์ตรงตัวว่า '''เจ้าฟ้าหญิงรอยัล'''
 
ส่วน[[สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]] พระราชธิดาใน[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]] ได้รับการสถาปนาพระอิสริยยศขึ้นเป็น "สยามบรม<u>ราชกุมารี</u>"<ref name="สถาปนา">ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2520/A/131/1.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ สถาปนา (สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิรินธรเทพรัตนสุดา)], เล่ม ๙๔, ตอน ๑๓๑ก ฉบับพิเศษ, ๒๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๒๐, หน้า ๑ </ref> ซึ่งเป็นพระอิสริยยศที่เทียบเท่า "ราชกุมารี"<ref>{{Citation |first=Duncan |last=McCargo |title=Thailand |work=Regional Oulook: Southeast Asia 2010-2011 |publisher=Institute of Southeast Asian Studies |year=2010 |page=55}}</ref>