ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ซินท์ป็อป"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
โยงไปหน้าที่มี
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
 
บรรทัด 17:
'''ซินท์ป็อป''' ({{Lang-en|synth-pop; ย่อมาจาก synthesizer pop}}) หรือบางครั้งเรียกว่า '''เทคโนป็อป''' (techno-pop)<ref name=Cateforis>{{citation|title=Are We Not New Wave?: Modern Pop at the Turn of the 1980s|author=T. Cateforis |journal= |publisher= Ann Arbor MI: University of Michigan Press|year=2011|isbn=0472034707|page=51|url=http://books.google.com/books?id=-MVrM3zKrHQC&pg=PA51&dq=Are+We+Not+New+Wave?:+Modern+Pop+at+the+Turn+of+the+1980s+%22dance+club+and+radio+airplay\%22&hl=En&ei=pQ05ToDpBY-38QOGw6H2Ag&sa=X&oi=book_result&ct=result&resnum=1&ved=0CCgQ6AEwAA#v=onepage&q&f=false|accessdate=|authorlink=|archiveurl = |archivedate =}}.</ref> เป็น[[แนวเพลง]]ย่อยของ[[นิวเวฟ]] ที่เน้นเสียงเครื่องสังเคราะห์ เป็นที่รู้จักในยุคระหว่างปลายทศวรรษ 1970 ที่เครื่องสังเคราะห์แต่เดิมใช้ในโพรเกรสซิฟร็อก อิเล็กทรอนิกส์ อาร์ตร็อก ดิสโก้ ช่วงทศวรรษที่ 1960 และ ทศวรรษที่ 1970 และรวมถึงดนตรีแบบวงเคราต์ร็อก เช่น [[ครัฟท์แวร์ค]] ซินท์ป็อปเกิดขึ้นในญี่ปุ่นและสหราชอาณาจักรในช่วงยุคโพสต์พังก์ ที่เป็นส่วนหนึ่งของการเคลื่อนไหวนิวเวฟในช่วงปลายทศวรรษที่ 1970 ถึงกลางทศวรรษ 1980
 
วงซินท์ป็อปยุคแรกได้แก่ เยลโลแมจิกออร์เคสตรา (Yellow Magic Orchestra) และวงจากสหราชอาณาจักร เช่น อัลตราวอกซ์ (Ultravox) เดอะฮิวแมนลีก (The Human League) และ เบอร์ลินบลอนส์ (Berlin Blondes) หลังจาก[[แกรี นูแมน]]ประสบความสําเร็จในสำเร็จใน[[ชาร์ตซิงเกิลแห่งสหราชอาณาจักร]] ปี ค.ศ. 1979 มีศิลปินจำนวนมากเริ่มประสบความสําเร็จสำเร็จกับเสียงสังเคราะห์ในช่วงต้นทศวรรษ 1980 เช่นวงเจแปน (Japan) ออร์เคสตรลแมนูเวอส์อินเดอะดาร์ก (Orchestral Manoeuvres in the Dark) ในทศวรรษที่ 1970 และศิลปินหน้าใหม่เช่น ดีเพชโมด (Depeche Mode) และ ยูรีธมิกส์ (Eurythmics) ในญี่ปุ่น เยลโลแมจิกออร์เคสตรา ประสบความสําเร็จสำเร็จในการเปิดทางวงซินท์ป็อปใหม่เช่น พีโมเดล (P-Model) พลาสติกส์ (Plastics) และ ฮิกะชู (Hikashu) มีการพัฒนาต่อเนื่องด้วยการใช้ โพลีโพนิกซินธิไซเซอร์ราคาถูก การใช้มิดิ (MIDI) ในจังหวะแดนซ์ที่นำซินท์ป็อปไปสู่ตลาดเพลงมากขึ้นด้วยเสียงที่สามารถเข้าถึงได้ การเคลื่อนไหวเกี่ยวข้องกับซินท์ป็อป เช่น นิวโรแมนติก (New Romantic) ที่ได้เติบโตมาจาก [[MTV]] และนำวงซินท์ป็อปจากเกาะอังกฤษไปสู่ความสำเร็จในอเมริกา (รวมทั้งวง [[ดูแรนดูแรน]] และ [[สปานเดาบัลเลต์]])
 
==อ้างอิง==