ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นาลันทา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dogsunnye (คุย | ส่วนร่วม)
อาจมีความเป็นไปได้อื่นๆ เช่นการต้องการของตัวเอง หรือการหลุดจากการเป็นทาสของมุสลิม
สาระถี (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มเติมข้อมูลจาก นาลันทา – จากยุคทองของพุทธสู่จุดดับในอินเดีย http://newdelhi.thaiembassy.org/th/2012/03/%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B2-%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%84%E0%B8%97%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%9E%E0%B8%B8/
ป้ายระบุ: ผู้ใช้ใหม่เพิ่มลิงก์ไปยังเว็บอื่น การแก้ไขแบบเห็นภาพ
บรรทัด 48:
 
== ความล่มสลายของมหาวิทยาลัยนาลันทา ==
ในประมาณ [[พ.ศ. 1742]] กองทัพมุสลิมเติรกส์ได้ยกมารุกรานรบชนะกษัตริย์แห่งชมพูทวีปฝ่ายเหนือ และเข้าครอบครองดินแดนโดยลำดับ กองทัพมุสลิมเติรกส์ได้เผาผลาญทำลายวัดและปูชนียสถานในพุทธศาสนาอื่นลงแทบทั้งหมด และสังหารผู้ที่ไม่ยอมเปลี่ยนศาสนา นาลันทามหาวิหารก็ถูกเผาผลาญทำลายลงในช่วงระยะเวลานั้นด้วย มีบันทึกของนักประวัติศาสตร์ชาวมุสลิมเล่าว่า ที่นาลันทา พระภิกษุถูกสังหารแทบหมดสิ้น และมหาวิทยาลัยนาลันทาก็ก้าวถึงความพินาศสูญสิ้นลงแต่บัดนั้นมา อาจเป็นพวกไร้ศาสนาแล้วโดนพวกมุสลิมจับไปเป็นทาสก็ได้เลยต้องทำตามคำสั่งแบบช่วยไม่ได้หรือไม่ก็ตัดสินใจทำด้วยตัวเองที่เกิดจากการกฏขี่มานานอยากได้เแผ่นดินเป็นของตน
 
จากการบันทึกของท่าน ตารนาท ธรรมสวามินปราชญ์เขียนเอาไว้ว่า พอกองทัพมุสลิมยกทัพกลับไปแล้ว พระ นักศึกษา และพระอาจารย์ ที่มหาวิทยาลัยสงฆ์นาลันทา ซึ่งเหลืออยู่ประมาณ 70 องค์ ก็พากันออกมาจากที่ซ่อน ทำการสำรวจข้าวของที่ยังหลงเหลืออยู่ รวบรวมเท่าที่จะหาได้ ปฏิสังขรณ์ตัดทอนกันเข้าก็พอได้ใช้สอยกันต่อมา และ ท่านมุทิตาภัทร รัฐมนตรีของกษัตริย์ในสมัยนั้นได้จัดทุนทรัพย์จำนวนหนึ่ง ส่งไปจากแคว้นมคธ เพื่อช่วยเหลือซ่อมแซมปฏิสังขรณ์วัดวาอารามที่นาลันทาขึ้นมาใหม่แต่ก็ทำได้บางส่วนเท่านั้น
 
อีกประเด็นหนึ่งที่น่าสนใจคือ พุทธกับพราหมณ์ คือพุทธศาสนาและฮินดู ตีคู่กันมาตลอด ในขณะที่ทางพุทธเรามีวัดมานานแล้ว ทางฮินดูเดิมไม่มีวัดเป็นศูนย์รวม แต่ต่อมาด้วยความที่พุทธศาสนามีความอ่อนตัว ยอมรับศาสนาอื่นได้ ทำให้ฮินดูเข้ามามีบทบาทร่วมปะปนกับทางพุทธ แล้วค่อยๆ “กลืน” พุทธเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของฮินดู เลยดูเสมือนว่าศาสนาฮินดูนี้ ยิ่งใหญ่กว่าพุทธศาสนา … ทำให้พุทธเสื่อมถอยลงเรื่อยๆ
แต่แล้ววันหนึ่งได้มีปริพาชก 2 คนได้เข้ามาประกอบพิธีกรรมทางศาสนาของตนขึ้นและคงคิดว่าเพียงพอแล้วที่จะอยู่ที่นี่ต่อไป จึงได้รวบรวมเศษไม้แล้วก่อไฟขึ้น พร้อมทั้งขว้างปาดุ้นฟืนที่ติดไฟไปตามสถานที่ต่างๆ โดยรอบ จนกระทั่งเกิดไฟลุกไหม้ไปทั่วมหาวิทยาลัยนาลันทา ก็เป็นอันแหลกลาญเป็นผุยผง สุดที่จะทำการซ่อมแซมปฏิสังขรณ์ให้คืนดีได้ดังเดิม มหาวิทยาลัยนาลันทา อันเลื่องชื่อลือนาม ก็เป็นอันสิ้นสุดลง ถูกปล่อยให้รกร้างว่างเปล่า มาตั้งแต่บัดนั้นซากของนาลันทาที่ถูกขุดค้นพบในภายหลัง ยังประกาศยืนยันอย่างชัดเจนถึงความยิ่งใหญ่ของนาลันทาในอดีตในปลายพุทธศตวรรษที่ 25
 
แต่แล้วในที่สุดวันหนึ่งได้มีปริพาชก 2 คนได้เข้ามาประกอบพิธีกรรมทางศาสนาของตนขึ้นและคงคิดว่าเพียงพอแล้วที่จะอยู่ที่นี่ต่อไป จึงได้รวบรวมเศษไม้แล้วก่อไฟขึ้น พร้อมทั้งขว้างปาดุ้นฟืนที่ติดไฟไปตามสถานที่ต่างๆ โดยรอบ จนกระทั่งเกิดไฟลุกไหม้ไปทั่วมหาวิทยาลัยนาลันทา ก็เป็นอันแหลกลาญเป็นผุยผง สุดที่จะทำการซ่อมแซมปฏิสังขรณ์ให้คืนดีได้ดังเดิม มหาวิทยาลัยนาลันทา อันเลื่องชื่อลือนาม ก็เป็นอันสิ้นสุดลง ถูกปล่อยให้รกร้างว่างเปล่า มาตั้งแต่บัดนั้นซากของนาลันทาที่ถูกขุดค้นพบในภายหลัง ยังประกาศยืนยันอย่างชัดเจนถึงความยิ่งใหญ่ของนาลันทาในอดีตในปลายพุทธศตวรรษที่ 25
 
== การค้นพบนาลันทา ==
เส้น 68 ⟶ 70:
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
* {{เริ่มอ้างอิง}}{{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = พระธรรมปิฎกชิว ซูหลุน| ชื่อหนังสือ = จาริกบุญถังซำจั๋ง จารึกธรรมจดหมายเหตุการเดินทางสู่ดินแดนตะวันตกของมหาราชวงศ์ถัง| URL = | จังหวัด = | พิมพ์ที่ = มูลนิธิพุทธธรรมสำนักพิมพ์มติชน| ปี = | ISBN = 974-7890323-74332-76| จำนวนหน้า = | หน้า = 46379-66386}}
{{เริ่มอ้างอิง}}
* {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = ชิว ซูหลุนพระธรรมปิฎก| ชื่อหนังสือ = ถังซำจั๋งจาริกบุญ จดหมายเหตุการเดินทางสู่ดินแดนตะวันตกของมหาราชวงศ์ถังจารึกธรรม| URL = | จังหวัด = | พิมพ์ที่ = สำนักพิมพ์มติชนมูลนิธิพุทธธรรม| ปี = | ISBN = 974-3237890-33274-67| จำนวนหน้า = | หน้า = 37946-38666}}*
* นาลันทา – จากยุคทองของพุทธสู่จุดดับในอินเดีย
* {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = พระธรรมปิฎก| ชื่อหนังสือ = จาริกบุญ จารึกธรรม| URL = | จังหวัด = | พิมพ์ที่ = มูลนิธิพุทธธรรม| ปี = | ISBN = 974-7890-74-7| จำนวนหน้า = | หน้า = 46-66}}
[http://newdelhi.thaiembassy.org/th/2012/03/%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B2-%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%84%E0%B8%97%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%9E%E0%B8%B8/]
* [http://www.dhammathai.org/buddhistdic/rat121.php เว็บไซต์ธรรมะไทย]
* [http://www.nalanda.nitc.ac.in/about/NalandaHeritage.html เว็บไชต์ Nalanda]