ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มหาอำนาจ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
Zenzazasada (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 16:
ไม่มีเกณฑ์หรือลักษณะจำกัดความของมหาอำนาจ ลักษณะเหล่านี้มักถือว่าเป็นเชิงประสบการณ์และประจักษ์ชัดในตัวของผู้ประเมิน<ref>{{cite book | title=Theory of International Politics | last=Waltz | first=Kenneth N | publisher=McGraw-Hill | year=1979 | page=131 | isbn=0-201-08349-3}}</ref> อย่างไรก็ดี ความเข้าใจนี้มีข้อเสียเรื่อง[[อัตวิสัย]] ผลคือ มีความพยายามหยิบยกเกณฑ์สามัญบางข้อมาพิจารณาและจัดเป็นส่วนสำคัญของสถานภาพมหาอำนาจ
 
งานเขียนช่วงต้นเกี่ยวกับเรื่องนี้มักตัดสินรัฐตามเกณฑ์[[สัจนิยม]] ตามที่แสดงโดยนักประวัติศาสตร์ [[เอ. เจ. พี. เทย์เลอร์]] เมื่อเขาเขียนว่า "การทดสอบมหาอำนาจ คือ การทดสอบความเข้มแข็งในการทำสงคราม"<ref>{{cite book | title=The Struggle for Mastery in Europe 1848–1918 | last=Taylor | first=Alan JP | publisher=Clarendon |location=Oxford| year=1954 | page=xxiv | isbn=0-19-881270-1}}</ref> นักเขียนสมัยหลังได้ขยายการทดสอบนี้ โดยพยายามนิยามมหาอำนาจในแง่ขีดความสามารถทางทหาร เศรษฐกิจและการเมืองโดยรวม<ref>Organski, AFK – World Politics, Knopf (1958)</ref> เคนเน็ธ วอลทซ์ ผู้ก่อตั้งทฤษฎีสัจนิยมใหม่ของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ได้ใช้ชุดหลักเกณฑ์ 5 ข้อ เพื่อระบุความเป็นมหาอำนาจ: คุณภาพ,จำนวนประชากรและลักษณะที่ตั้งของภูมิประเทศ; การบริจาคบริหารทรัพยากร; ศักยภาพทางเศรษฐกิจ; ความมั่นคงและอำนาจทางการเมือง; และความเข้มแข็งทางอำนาจทางการทหาร เกณฑ์ดังกล่าวสามารถแบ่งออกได้ในสามหัวข้อ: ขีดความสามารถแห่งอำนาจในแง่พื้นที่ และสถานภาพ<ref name="When the Stakes Are High—Deterrence and Conflict among Major Powers"/>
 
== ประวัติศาสตร์ ==