ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สุรเกียรติ์ เสถียรไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 50:
เขาได้รับปริญญาสาขาวิชาสังคมศาสตร์ จาก [[มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง]] จังหวัดเชียงราย และปริญญารัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ [[มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย]] และได้รับรางวัลนิสิตเก่านิติศาสตร์ จุฬาฯ ดีเด่น 2 ครั้ง (พ.ศ. ๒๕๓๙ และ พ.ศ. ๒๕๔๖)
 
== ประวัติการทำงาน ==
=== งานวิชาการ ===
ศ.ดร.สุรเกียรติ์ เสถียรไทย เคยร่วมสอนกฎหมายเศรษฐกิจระหว่างประเทศ กับ ศาสตราจารย์เฟรดเดอริก สโนเดอร์ ในระดับปริญญาโท ณ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นผู้ริเริ่มหลักสูตรกฎหมายเศรษฐกิจระหว่ช และการวิจัยสหสาขาระหว่างนิติศาสตร์และสาขาอื่นๆที่คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเคยดำรงตำแหน่งคณบดี [[คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] เป็น[[ศาสตราภิชาน]] กองทุนเพื่อการบริหารวิชาการและการศึกษา คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และได้รับโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็น [[ศาสตราจารย์พิเศษ]] สาขาวิชานิติศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งแต่วันที่ [[25 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2553]]<refGovernment และ Harvard Law School สหรัฐอเมริกา ตามลำดับ และ Member of the Advisory Council, Global Law and Policy Institute, Harvard Law School, U.S.A. และ Member of Asian Advisory Group of the Fletcher School of Law and Diplomacy, Tufts University สหรัฐอเมริกา
 
นอกจากนั้น ยังเป็นนายกสภา[[มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน]] และ[[มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย]]
ศ.ดร.สุรเกียรติ์ เสถียรไทย ได้รับแต่งตั้งเป็น[[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง]] ในรัฐบาลของนาย[[บรรหาร ศิลปอาชา]] (ครม.51) และเป็น[[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ]]และ[[รองนายกรัฐมนตรี]] และรักษาการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม ในรัฐบาลของ พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร ซึ่งได้ริเริ่มกรอบความร่วมมือต่างๆในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงและในภูมิภาคเอเชีย ศาสตราจารย์ ดร.สุรเกียรติ์ เสถียรไทย ได้รับเลือกจากประเทศในเอเชียให้เป็น President of Asia Society of International Law (ASIL) ระหว่างปี (๒๕๕๗-๒๕๕๘) และได้รับเลือกจากสมาชิก ๒๔ ท่านของคณะมนตรีเพื่อสันติภาพและการปรองดองแห่งเอเชีย (APRC) ให้เป็นประธานคณะมนตรีฯ ในวาระ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๖๐) ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ยลดความขัดแย้งและส่งเสริมสันติภาพในภูมิภาคเอเชีย เป็นประธานมูลนิธิส่งเสริมนักกฎหมายธุรกิจ, ประธานมูลนิธิสถาบันการต่างประเทศสราญรมย์ ซึ่งทำหน้าที่เป็นแหล่งให้ความรู้แก่ประชาชนในด้านความคิด วิสัยทัศน์ และทำความเข้าใจทางด้านนโยบายและยุทธศาสตร์การต่างประเทศ ซึ่งจะนำไปสู่ความเข้าใจด้านการต่างประเทศที่มีมากขึ้นในประเทศไทย และการเป็นประธานร่วมกับอดีตประธานาธิบดี จิมมี่ คาร์เตอร์ ของสหรัฐอเมริกา ในคณะสังเกตการณ์การเลือกตั้งในประเทศเนปาล (พ.ศ. ๒๕๕๑ และ พ.ศ. ๒๕๕๖) เป็นต้น ในด้านธุรกิจนั้น ศ.ดร.สุรเกียรติ์ เสถียรไทย เป็นผู้ก่อตั้งสำนักกฎหมายสากลสยามพรีเมียร์เมื่อปีพ.ศ. ๒๕๓๓ นอกจากนี้เป็นผู้มีบทบาทหลักในการเจรจาแก้ไขปัญหาข้อพิพาทสัญญาซื้อก๊าซธรรมชาติ ระหว่างการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทยกับกลุ่มผู้ผลิตก๊าซในพม่า ซึ่งผลการเจรจาเป็นผลให้การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทยไม่ถูกฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายเป็นคดีความ นอกจากนี้ในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจ ในปีพ.ศ. ๒๕๔๐ ในฐานะประธานกรรมการ ได้นำบริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) (ปตท.สผ.) ไป Roadshow ในต่างประเทศ จนประสบความสำเร็จในการออกหุ้นเพิ่มทุนแม้อยู่ในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจ ๒๕๔๐ และยังเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการเจรจากับเจ้าหนี้ต่างประเทศเพื่อปรับโครงสร้างหนี้และฟื้นฟูกิจการให้บริษัท ไทยออยล์ จำกัด จนประสบความสำเร็จเป็นบริษัทแรกของไทยหลังวิกฤตเศรษฐกิจ ๒๕๔๐ จึงเป็นผลดีต่อบริษัทที่รัฐบาลมีหุ้นใหญ่ให้เจริญก้าวหน้าได้มั่นคง และปัจจุบันเป็นประธานที่ปรึกษาให้บริษัทเอกชนต่างๆหลายแห่ง
 
=== งานการเมือง ===
ส่วนในด้านสังคมเป็นเลขาธิการมูลนิธิพระบรมราชานุสาวรีย์ ร.๕ ณ ป้อมพระจุลจอมเกล้า, นายกสภามหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย, รองประธานมูลนิธิศาลาเฉลิมกรุง ซึ่งอนุรักษ์พัฒนาวัฒนธรรมการแสดงโขนและวัฒนธรรมของไทย, ประธานคณะกรรมการการจัดหาทุนโครงการผ่าตัดหัวใจให้คนยากจนเทิดพระเกียรติในหลวงทั่วหล้า ๘๔ พรรษามหาราชา (พ.ศ. ๒๕๕๔), ประธานคณะกรรมการอำนวยการจัดหาทุนอาคารเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษามหาราชินี สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี (พ.ศ. ๒๕๕๕ ถึงปัจจุบัน),นายกสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน เป็นต้น
ศ.ดร.สุรเกียรติ์ เสถียรไทย ได้รับแต่งตั้งเป็น[[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง]] ในรัฐบาลของนาย[[บรรหาร ศิลปอาชา]] (ครม.51) และเป็น[[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ]]และ[[รองนายกรัฐมนตรี]] และรักษาการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม ในรัฐบาลของทักษิณ ชินวัตร ซึ่งได้ริเริ่มกรอบความร่วมมือต่างๆในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงและในภูมิภาคเอเชีย
 
=== งานองค์การระหว่างประเทศ ===
ศาสตราจารย์ ดร.สุรเกียรติ์ เสถียรไทย ได้รับเลือกจากประเทศในเอเชียให้เป็น President of Asia Society of International Law (ASIL) ระหว่างปี (๒๕๕๗-๒๕๕๘) และได้รับเลือกจากสมาชิก 24 ท่านของคณะมนตรีเพื่อสันติภาพและการปรองดองแห่งเอเชีย (APRC) ให้เป็นประธานคณะมนตรีฯ ในวาระ 5 ปี (พ.ศ. 2555-2560) ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ยลดความขัดแย้งและส่งเสริมสันติภาพในภูมิภาคเอเชีย
 
=== งานสังคม ===
สุรเกียรติ์ เสถียรไทย เป็นประธานมูลนิธิส่งเสริมนักกฎหมายธุรกิจ, ประธานมูลนิธิสถาบันการต่างประเทศสราญรมย์ ซึ่งทำหน้าที่เป็นแหล่งให้ความรู้แก่ประชาชนในด้านความคิด วิสัยทัศน์ และทำความเข้าใจทางด้านนโยบายและยุทธศาสตร์การต่างประเทศ ซึ่งจะนำไปสู่ความเข้าใจด้านการต่างประเทศที่มีมากขึ้นในประเทศไทย และการเป็นประธานร่วมกับอดีตประธานาธิบดี จิมมี่ คาร์เตอร์ ของสหรัฐอเมริกา ในคณะสังเกตการณ์การเลือกตั้งในประเทศเนปาล (พ.ศ. 2551 และ พ.ศ. 2556) เป็นต้น
 
ส่วนในด้านสังคมเป็นเลขาธิการมูลนิธิพระบรมราชานุสาวรีย์ ร.5 ณ ป้อมพระจุลจอมเกล้า, นายกสภามหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย, รองเป็นรองประธานมูลนิธิศาลาเฉลิมกรุง ซึ่งอนุรักษ์พัฒนาวัฒนธรรมการแสดงโขนและวัฒนธรรมของไทย, ประธานคณะกรรมการการจัดหาทุนโครงการผ่าตัดหัวใจให้คนยากจนเทิดพระเกียรติในหลวงทั่วหล้า ๘๔84 พรรษามหาราชา (พ.ศ. ๒๕๕๔2554), ประธานคณะกรรมการอำนวยการจัดหาทุนอาคารเฉลิมพระเกียรติ ๘๐80 พรรษามหาราชินี สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี (พ.ศ. ๒๕๕๕2555 ถึงปัจจุบัน),นายกสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน เป็นต้น
 
=== งานธุรกิจ ===
ศ.ดร.สุรเกียรติ์ เสถียรไทย ได้รับแต่งตั้งเป็น[[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง]] ในรัฐบาลของนาย[[บรรหาร ศิลปอาชา]] (ครม.51) และเป็น[[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ]]และ[[รองนายกรัฐมนตรี]] และรักษาการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม ในรัฐบาลของ พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร ซึ่งได้ริเริ่มกรอบความร่วมมือต่างๆในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงและในภูมิภาคเอเชีย ศาสตราจารย์ ดร.สุรเกียรติ์ เสถียรไทย ได้รับเลือกจากประเทศในเอเชียให้เป็น President of Asia Society of International Law (ASIL) ระหว่างปี (๒๕๕๗-๒๕๕๘) และได้รับเลือกจากสมาชิก ๒๔ ท่านของคณะมนตรีเพื่อสันติภาพและการปรองดองแห่งเอเชีย (APRC) ให้เป็นประธานคณะมนตรีฯ ในวาระ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๖๐) ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ยลดความขัดแย้งและส่งเสริมสันติภาพในภูมิภาคเอเชีย เป็นประธานมูลนิธิส่งเสริมนักกฎหมายธุรกิจ, ประธานมูลนิธิสถาบันการต่างประเทศสราญรมย์ ซึ่งทำหน้าที่เป็นแหล่งให้ความรู้แก่ประชาชนในด้านความคิด วิสัยทัศน์ และทำความเข้าใจทางด้านนโยบายและยุทธศาสตร์การต่างประเทศ ซึ่งจะนำไปสู่ความเข้าใจด้านการต่างประเทศที่มีมากขึ้นในประเทศไทย และการเป็นประธานร่วมกับอดีตประธานาธิบดี จิมมี่ คาร์เตอร์ ของสหรัฐอเมริกา ในคณะสังเกตการณ์การเลือกตั้งในประเทศเนปาล (พ.ศ. ๒๕๕๑ และ พ.ศ. ๒๕๕๖) เป็นต้น ในด้านธุรกิจนั้น ศ.ดร.สุรเกียรติ์ เสถียรไทย เป็นผู้ก่อตั้งสำนักกฎหมายสากลสยามพรีเมียร์ เมื่อปีพ.ศ. ๒๕๓๓2533 นอกจากนี้เป็นผู้มีบทบาทหลักในการเจรจาแก้ไขปัญหาข้อพิพาทสัญญาซื้อก๊าซธรรมชาติ ระหว่างการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทยกับกลุ่มผู้ผลิตก๊าซในพม่า ซึ่งผลการเจรจาเป็นผลให้การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทยไม่ถูกฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายเป็นคดีความ นอกจากนี้ในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจ ในปีพ.ศ. ๒๕๔๐2540 ในฐานะประธานกรรมการ ได้นำบริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) (ปตท.สผ.) ไป Roadshow ในต่างประเทศ จนประสบความสำเร็จในการออกหุ้นเพิ่มทุนแม้อยู่ในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจ ๒๕๔๐2540 และยังเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการเจรจากับเจ้าหนี้ต่างประเทศเพื่อปรับโครงสร้างหนี้และฟื้นฟูกิจการให้บริษัท ไทยออยล์ จำกัด จนประสบความสำเร็จเป็นบริษัทแรกของไทยหลังวิกฤตเศรษฐกิจ ๒๕๔๐2540 จึงเป็นผลดีต่อบริษัทที่รัฐบาลมีหุ้นใหญ่ให้เจริญก้าวหน้าได้มั่นคง และปัจจุบันเป็นประธานที่ปรึกษาให้บริษัทเอกชนต่างๆหลายแห่ง
 
== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==