ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สงครามเจ็ดปี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ชาวไทย (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 10:
|territory= [[สถานะเดิมก่อนสงคราม]]ในทวีปยุโรป บริเตนและสเปนยึดอาณานิคมเกือบทั้งหมดของฝรั่งเศสใน[[ทวีปอเมริกาเหนือ]] การควบคุมดินแดนส่วนใหญ่ของ[[ไซลีเซีย]]โดย[[ราชอาณาจักรปรัสเซีย|ปรัสเซีย]]ยังไม่มีการเปลี่ยนแปลง
|result= แนวร่วมอังกฤษ-ปรัสเซีย-โปรตุเกสชนะ<br />สนธิสัญญาเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก<br />[[สนธิสัญญาปารีส (1763)|สนธิสัญญาปารีส]]|สนธิสัญญาปารีส]]<br />[[สนธิสัญญาฮิวเบอร์ทุสบูร์ก]]
|combatant1= {{flagicon|Prussia|1750}} [[ปรัสเซีย]]<br />{{flagicon|United Kingdom|1707}} [[ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่|บริเตนใหญ่]] และ[[จักรวรรดิบริติช|อาณานิคม]]<br />{{flagicon|Prussia|1750}} [[ปรัสเซีย]]<br /> {{flagicon|Hanover|1692}} [[ราชอาณาจักรเลือกตั้งแห่งฮาโนเวอร์|ฮันโนเฟอร์]]<br />[[ไฟล์:Flag of the Iroquois Confederacy.svg|22px|border]] [[สหพันธ์อิโรคว็อยซ์]]<br />{{flagicon|Portugal|1707}} [[โปรตุเกส]]<br />[[ไฟล์:Flagge Herzogtum Braunschweig.svg|20px]] [[อาณาจักรดยุคแห่งบรันสวิค|บรันสวิค-วูล์เฟ็นบืตเตล]]<br />{{flagicon|Hesse}} [[เฮสเส-คาสเซิล]]
|combatant2={{flagicon|France|restauration}}<ref>George Ripley, Charles Anderson Dana, ''The American Cyclopaedia'', New York, 1874, p. 250, "...the standard of France was white, sprinkled with golden fleur de lis...". *[http://www.anyflag.com/history/fleur23.htm]The original Banner of France was strewn with fleurs-de-lis. *[http://digitalgallery.nypl.org/nypldigital/dgdisplaylargemeta.cfm?strucID=585779&imageID=1236061&parent_id=585395&word=&s=&notword=&d=&c=&f=&sScope=&sLevel=&sLabel=&lword=&lfield=&num=0&imgs=12&total=98&pos=1&snum=]:on the reverse of this plate it says: "Le pavillon royal était véritablement le drapeau national au dix-huitième siècle...Vue du château d'arrière d'un vaisseau de guerre de haut rang portant le pavillon royal (blanc, avec les armes de France)."[http://www.1911encyclopedia.org/Flag] from the 1911 Encyclopedia Britannica: "The oriflamme and the Chape de St Martin were succeeded at the end of the 16th century, when Henry III, the last of the house of Valois, came to the throne, by the white standard powdered with fleurs-de-lis. This in turn gave place to the tricolour."</ref> [[ราชอาณาจักรฝรั่งเศส|ฝรั่งเศส]] และ[[จักรวรรดิอาณานิคมฝรั่งเศส|อาณานิคม]]<br />{{flagicon|Austrian Empire}} [[จักรวรรดิออสเตรีย|ออสเตรีย]]<br /> {{flag|จักรวรรดิรัสเซีย}}<br />{{flag|Sweden|name=สวีเดน}}<br />{{flag|Spain|1701|name=สเปน}} และ[[จักรวรรดิสเปน|อาณานิคม]]<br />{{flagicon image|Flag of Electoral Saxony.svg}} [[รัฐผู้คัดเลือกซัคเซิน|ซัคเซิน]]<br />{{flagicon|Sardinia|kingdom}} [[ซาร์ดิเนีย]]
|commander1={{flagicon|Prussia|1701}} [[พระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย|พระเจ้าฟรีดริชที่ 2]]<br />{{flagicon|Prussia|1701}} [[เจ้าชายไฮน์ริชแห่งปรัสเซีย|เจ้าชายไฮน์ริช]]<br />{{flagicon|Prussia|1701}} [[ฟรีดริช วิลเฮล์ม ฟอน เซย์ลิทซ์]]<br />{{flagicon|United Kingdom|1707}} [[พระเจ้าจอร์จที่ 2 แห่งบริเตนใหญ่|พระเจ้าจอร์จที่ 2]] <br />{{flagicon|United Kingdom|1707}} [[พระเจ้าจอร์จที่ 3]]<br />{{flagicon|United Kingdom|1707}} [[วิลเลียม คาเว็นดิช ดยุกที่ 4 แห่งเดวอนเชอร์|ดยุกแห่งเดวอนเชอร์]]<br />{{flagicon|United Kingdom|1707}} [[ทอมัส เพลแฮม-โฮลล์ส ดยุกแห่งนิวคาสเซิล|ดยุกแห่งนิวคาสเซิล]]<br />{{flagicon|United Kingdom|1707}} [[John Manners, Marquess of Granby|มาร์ควิสแห่งกรันบี]]<br />{{flagicon|United Kingdom|1707}} [[Robert Clive|รอเบิร์ด ไคลฟ์]]<br />{{flagicon|United Kingdom|1707}} [[เจฟฟรีย์ แอมเฮิร์สท์ บารอนแอมเฮิร์สที่ 1|เจฟฟรีย์ แอมเฮิร์ส]]<br />{{flagicon image|Flag Portugal (1750).svg}} [[พระเจ้าฌูเซที่ 1 แห่งโปรตุเกส|พระเจ้าฌูเซที่ 1]]<br> {{flagicon|Hanover|1692}} [[Duke Ferdinand of Brunswick-Wolfenbüttel|ดยุกแฟร์ดีนันด์]]
บรรทัด 16:
}}
 
'''สงครามเจ็ดปี''' ({{lang-en|Seven Years' War}}) หรือ '''สงครามไซลีเซียครั้งที่ 3''' ({{lang-en|Third Silesian War}}) เป็นสงครามที่เกิดขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 1756 จนถึง 1763 โดยเกี่ยวข้องกับทุกประเทศมหาอำนาจในยุโรป มีการสู้รบเกิดขึ้นในห้าทวีป สงครามเจ็ดปีเป็นสงครามระหว่างสองข้างด้วยกัน ข้างหนึ่งนำโดย[[ราชอาณาจักรปรัสเซียบริเตนใหญ่|ปรัสเซียบริเตนใหญ่]]และ พร้อมด้วย[[ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ปรัสเซีย|บริเตนใหญ่ปรัสเซีย]]และกลุ่มนครรัฐเล็กในเยอรมนีที่ต่อต้านฝ่ายพันธมิตรเยอรมัน กับอีกข้างหนึ่งที่ประกอบนำด้วย[[ออสเตรีย]],ฝรั่งเศส พร้อมด้วย[[ฝรั่งเศสสมัยใหม่ตอนต้น|ฝรั่งเศสออสเตรีย]], [[จักรวรรดิรัสเซีย|รัสเซีย]], [[จักรวรรดิสวีเดน|สวีเดน]] และ[[รัฐผู้คัดเลือกซัคเซิน|ซัคเซิน]] โดย[[จักรวรรดิรัสเซีย|รัสเซีย]]เปลี่ยนข้างอยู่ระยะหนึ่งในช่วงปลายของสงคราม
 
ต่อมา[[ราชอาณาจักรโปรตุเกส|โปรตุเกส]] (ฝ่ายข้างบริเตนใหญ่) และ[[สเปน]] (ฝ่ายข้างฝรั่งเศส) ถูกดึงเข้าร่วมในสงคราม และ[[เนเธอร์แลนด์]]ที่เป็นกลางก็เข้าร่วมสงครามเมื่อนิคมของตนในอินเดียถูกโจมตี เพราะความกว้างขวางของสงครามที่กระจายไปทั่วโลกนี้เองทำให้สงครามเจ็ดปีได้รับการบรรยายว่าเป็น "'''สงครามโลกครั้งแรก"ที่ศูนย์''' (World War Zero) ที่มีผลให้ผู้คนเสียชีวิตไปประมาณ 900,000 ถึง 1,400,000 คน ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อดุลอำนาจทางการเมืองอย่างมหาศาล
 
แม้ว่าทวีปยุโรปจะเป็นสมรภูมิหลักของสงครามโดยทั่วไปแต่ผลของสงครามก็มิได้ทำให้สถานการณ์เปลี่ยนไปมากจากก่อนสงครามเท่าใดนัก กลับกลายเป็นว่าผลกระทบกระเทือนในเอเชียและอเมริกามีมากกว่าและส่งผลที่ยาวนานกว่า สงครามยุติความเป็นมหาอำนาจการครองครองอาณานิคมของฝรั่งเศสใน[[ทวีปอเมริกา]] ที่เสียดินแดนเกือบทั้งหมดในทวีปอเมริกาเหนือและหมู่เกาะ[[แคริบเบียน|เวสต์อินดีส]]บางส่วน<ref>The Treaty of Paris (1763) in {{cite book|last=Corbett| first=Julian|title=England in the Seven Years' War: A Study in Combined Strategy Vol. II.|edition=Second Edition|date=1918|month=|publisher=Longman, Green and Co.|location=London|pages=|chapter=}}</ref> ปรัสเซียยังคงเป็นมหาอำนาจและยังคงครอบครองบริเวณ[[ไซลีเซีย]]ที่เดิมเป็นของออสเตรีย [[ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่|บริเตนใหญ่]]กลายเป็นมหาอำนาจในการเป็นเจ้าของอาณานิคมใน[[ทวีปอเมริกาเหนือ]] และเป็นผู้มีอำนาจมากกว่าผู้ใดในการครอบครองอาณานิคม
บรรทัด 30:
 
== เหตุการณ์ ==
[[ไฟล์:SevenYearsWar.png|thumb|307px|ฝ่ายในสงครามเจ็ดปี<br><font color="Blue">น้ำเงิน</font>: บริเตนใหญ่, ปรัสเซีย, โปรตุเกส และพันธมิตร<br><font color="Green">เขียว</font>: ฝรั่งเศส, สเปน, ออสเตรีย, รัสเซีย, สวีเดน และพันธมิตร]]
สงครามเจ็ดปีปะทุขึ้นในปี 1754–1756 เมื่อบริเตนใหญ่เข้าโจมตีที่มั่นของฝรั่งเศสในทวีปอเมริกาเหนือและยึดเอาเรือพาณิชย์ของฝรั่งเศสกว่าร้อยลำ ในขณะนั้น มหาอำนาจอย่าง[[ปรัสเซีย]]ก็กำลังต่อสู้อยู่กับ[[จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]]ของ[[ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก|ราชวงศ์ฮับส์บูร์กแห่งออสเตรีย]]เพื่อแย่งชิงดินแดนทั้งในและนอกจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ จนกระทั่งในปี 1756 ชาติต่างๆก็เกิดการย้ายฝ่ายครั้งใหญ่เรียกว่า "[[การปฏิวัติทูต]]" ซึ่งทำให้ดุลอำนาจในยุโรปเปลี่ยนไปอย่างมาก
 
เส้น 35 ⟶ 36:
 
สงครามสิ้นสุดลงด้วย[[สนธิสัญญาปารีส (1763)|สนธิสัญญาปารีส]]ระหว่างสเปนกับฝรั่งเศสและบริเตนใหญ่ กับสนธิสัญญาฮิวเบอร์ทุสบูร์กระหว่างซัคเซิน, ออสเตรีย และปรัสเซีย ในปี 1763
 
[[ไฟล์:SevenYearsWar.png|thumb|307px|ฝ่ายในสงครามเจ็ดปี<br><font color="Blue">น้ำเงิน</font>: บริเตนใหญ่, ปรัสเซีย, โปรตุเกส และพันธมิตร<br><font color="Green">เขียว</font>: ฝรั่งเศส, สเปน, ออสเตรีย, รัสเซีย, สวีเดน และพันธมิตร]]
 
== ที่มาของชื่อสงคราม ==
[[ไฟล์:Quibcardinaux2.jpg|thumb|307px|[[Battle of Quiberon Bay|ยุทธนาวีที่อ่าวไควเบิร์น]] 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 1759]]
ในแคนาดา, ฝรั่งเศส และสหราชอาณาจักร คำว่า “สงครามเจ็ดปี” หมายถึงความขัดแย้งใน[[ทวีปอเมริกาเหนือ]] ที่รวมทั้งความขัดแย้งในยุโรปและเอเชียด้วย ความขัดแย้งนี้แม้ว่าจะเรียกว่า “สงครามเจ็ดปี” แต่อันที่จริงแล้วเป็นสงครามที่ยาวเก้าปีเกิดขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 1754 จนถึงปี ค.ศ. 1763 ในสหรัฐอเมริกาสงครามส่วนที่เกิดขึ้นที่นั่นมักจะเป็นที่รู้จักกันว่า “[[สงครามฝรั่งเศส-อเมริกันอินเดียน]]” แต่นักวิชาการและนักประวัติศาสตร์หลายท่านในสหรัฐอเมริกาเช่น[[เฟรด แอนเดอร์สัน (นักประวัติศาสตร์)|เฟรด แอนเดอร์สัน]]เรียกสงครามนี้ตามที่เรียกกันในประเทศอื่นว่า “สงครามเจ็ดปี” ไม่ว่าสงครามจะเกิดขึ้นที่ใด ในควิเบคความขัดแย้งนี้บางครั้งก็เรียกว่า “La Guerre de la Conquête” ที่แปลว่า “สงครามแห่งการพิชิต” ส่วนในอินเดียก็เรียกว่า “[[สงครามคาร์เนติค]]” (Carnatic Wars) ขณะที่การต่อสู้ระหว่างปรัสเซียและออสเตรียเรียกว่า “[[สงครามไซลีเซีย|สงครามไซลีเซียครั้งที่ 3]]”