ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ซีเมนส์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘(?mi)\{\{Link FA\|.+?\}\}\n?’ ด้วย ‘’: เลิกใช้ เปลี่ยนไปใช้วิกิสนเทศ
Magnamonkun (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
สำนักงานใหญ่นานาชาติของซีเมนส์ตั้งอยู่ที่[[เบอร์ลิน]]และ[[มิวนิก]] [[ประเทศเยอรมนี]]
ซีเมนส์เป็นบริษัทที่ประกอบธุรกิจหลายประเภทรวมกัน (conglomerate) โดยมีแผนกธุรกิจหลัก 6 ส่วน ได้แก่
[[ระบบอัตโนมัติ]]และระบบควบคุม, [[พลังงานไฟฟ้า]], [[ระบบขนส่ง]], [[การแพทย์]], สารสนเทศและ[[การสื่อสาร]], และ[[ระบบส่องสว่าง]] เมื่อวันที่ [[28 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2550]] ซีเมนส์ได้ปรับธุรกิจใหม่เป็นสามส่วนคือ อุตสาหกรรม, พลังงาน, และสุขภาพ โดยมีแผนกรวมทั้งหมด 15 แผนก ซีเมนส์และบริษัทในเครือจ้างงานทั่วโลกประมาณ 400,000 ตำแหน่ง<ref name="annualreport2007">[http://w1.siemens.com/annual/07/en/index/key_figures.htm Siemens AG – Annual Report], www.siemens.com, January 2008</ref> ในเกือบ 190 ประเทศ และแจ้งรายได้ทั่วโลก 72,448 ล้าน[[ยูโร]] ในปีงบประมาณ 2550<ref name="annualreport2007"/> บริษัทซีเมนส์อยู่ใน[[ตลาดหลักทรัพย์แฟรงค์เฟิร์ต]] และอยู่ใน[[ตลาดหลักทรัพย์นิวยอร์ก]]ตั้งแต่ [[12 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2544]]
และอยู่ใน[[ตลาดหลักทรัพย์นิวยอร์ก]]ตั้งแต่ [[12 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2544]]
 
ซีเมนส์ก่อตั้งโดย [[แวร์เนอร์ ฟอน ซีเมนส์]] เมื่อ [[1 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2390]] (ค.ศ. 1847) โดยเริ่มจากการคิดค้นระบบ[[โทรเลข]]ที่ให้ผลลัพธ์เป็นตัวอักษรแทนที่จะเป็น[[รหัสมอร์ส]]
 
โดยเริ่มจากการคิดค้นระบบ[[โทรเลข]]ที่ให้ผลลัพธ์เป็นตัวอักษรแทนที่จะเป็น[[รหัสมอร์ส]]
เมื่อวันที่ 26 กันยายน 2560 ซีเมนส์ประกาศควบรวมกิจการเฉพาะหน่วยธุรกิจระบบรางและระบบอาณัติสัญญาณ (ซีเมนส์ โมบิลิที) เข้ากับ อัลสตอม (Alstom) ของประเทศฝรั่งเศส เพื่อร่วมกันสร้างบริษัทระบบรางที่ใหญ่ที่สุดในโลก ที่มีสำนักงานย่อย โรงงาน คู่ค้าและพันธมิตรกว่า 60 ประเทศ รวมประเทศไทย โดยบริษัทใหม่จะใช้ชื่อว่า ซีเมนส์ อัลสตอม (Siemens Alstom) มีกำหนดควบรวมกิจการเสร็จภายในสิ้นปีการเงิน พ.ศ. 2561
 
== ซีเมนส์กับประเทศไทย ==