ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เวทีมวยนานาชาติรังสิต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขของ 124.120.31.201 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย B20180
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
บรรทัด 3:
'''เวทีมวยรังสิต''' หรือ '''เวทีมวยนานาชาติรังสิต''' ({{lang-en|Rangsit International Boxing Stadium}})<ref>[https://www.dailynews.co.th/sports/625108 ขุนเดี่ยวชนะแต้มพนมรุ้งเล็กที่รังสิต - เดลินิวส์]</ref> เป็น[[สนามมวย]]ที่มีชื่อเสียง ซึ่งตั้งอยู่ ณ [[เทศบาลนครรังสิต]] [[อำเภอธัญบุรี]] [[จังหวัดปทุมธานี]]<ref>[http://www.komchadluek.net/news/crime/232802 รปภ.ผูกคอตายปริศนาในค่ายมวยดังย่านรังสิต - คมชัดลึก]</ref> เวทีมวยแห่งนี้ ใช้เป็นสถานที่จัดการแข่ง ทั้ง[[มวยไทย]]ผ่านรายการถ่ายทอดสด<ref>[http://www.smmsport.com/reader.php?news=190699 'ปืนกล-รณชัย'!! - SMMSPORT.com]</ref><ref>[https://www.matichon.co.th/news/402274 ช่อง 5 จัดมวยไทยทุกอาทิตย์ลงวิกรังสิต-เปิดหัว 15 ม.ค. - มติชน]</ref> รวมถึงการแข่ง[[มวยสากล]]ในระดับนานาชาติ<ref>[https://www.khaosod.co.th/sports/news_725826 "สะท้านเมืองเล็ก-วันชนะ"เก็บชัยคว้าแชมป์ยอดมวยโลก WBC - ข่าวสด]</ref>
 
โดยในช่วงระยะเวลากว่า 53 ทศวรรษ ได้มีนักมวยที่ผ่านการแข่ง ณ สนามแห่งนี้ ไปสร้างชื่อเสียงอยู่เป็นจำนวนมาก<ref name="thairath">[https://www.thairath.co.th/content/491309 บุกเวทีรังสิต! จับ 86 เซียนพนัน มวยสดเลิก เล่นมวยตู้ต่อ - thairath.co.th]</ref>
 
== ประวัติ ==
ประวัติ{{cn-span|สนามมวยรังสิต เริ่มแรกเมื่อสร้างขึ้นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2505 โดย[[ประสิทธิ์ อุไรรัตน์]] ซึ่งเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดปทุมธานีในสมัยนั้น คือนายประสิทธิ์ อุไรรัตน์ ต้องการส่งเสริมกีฬามวยไทยในจังหวัดปทุมธานีได้จัดตั้งสนามมวยขึ้นเพื่อเป็นการอนุรักษ์กีฬา[[มวยไทย]] ต่อมา ซึ่งได้จัดการแข่งขันมวยไปได้สักพักแต่ไม่ได้การยอมรับจากชาวบ้านประชาชนในจังหวัดสักเท่าไรเนื่องจากจัดมวยไม่สนุก ขณะเดียวกันนั้น นาย[[อำนวย เกษบำรุง]] ได้เปิดซึ่งเป็นเจ้าของค่ายมวยสิงห์เมืองสุพรรณ,หลายแห่ง ค่ายมวยศิษย์สยาม, ค่ายมวยลูกรังสิต ซึ่งได้มีนักมวยในค่ายอยู่จำนวนหนึ่งทำให้เกิดความคิดอยากความต้องการจัดการแข่งขันมวยแข่ง โดยจึงมาขอเช่าสนามมวยเพื่อจัดการแข่งขันสถานที่ ซึ่งโดยมีไอเดียโดยแนวคิดในการนำเอานักมวยจากแต่ละโรงงานในจังหวัดปทุมธานีที่ต่าง ๆ มาแข่งขันแข่งกัน เพื่อที่จะทำให้มีกองเชียร์เข้ามาในสนามฯมากยิ่งขึ้น ทำให้ซึ่งการจัดแข่งขันมวยแข่งครั้งแรกสามารถ เก็บค่าผ่านประตูได้กว่า 6,400 บาท ซึ่งมีจากต้นทุนในการจัดไม่ถึง 3,000 บาท ทำให้มีกำไรได้มากพอสมควร จากกจากนั้นก็ได้จัดการแข่งขันเรื่อยๆมีการจัดเรื่อยมา และก็มีคนดูผู้เข้ามาชมเยอะเพิ่มขึ้นทุกในแต่ละนัด จึงทำให้ผู้จัดคนอื่นๆเลิกการจัดไป เมื่อปี พ.ศ.2505 ได้มีการเปิดประมูลสนามมวยขึ้น โดยนายอำนวย เกษบำรุง ได้ชนะการประมูลด้วยเงินประมาณ 20,000 บาท จากนั้นได้มีการปรับปรุงสนามมวยให้ดียิ่งขึ้นจากเดิม และได้ทำการจัดแข่งขันมวยเป็นประจำๆทุกสัปดาห์
 
ปี พ.ศ. 2505 นี้เอง ได้มีการเปิดประมูลสนามมวย ซึ่งอำนวย เกษบำรุง ชนะการประมูลด้วยเงิน 20,000 บาท และได้ทำการปรับปรุงสนามมวย รวมทั้งจัดการแข่งทุกสัปดาห์
แต่สนามมวยรังสิตนี้ ก็ได้มีการย้ายไปหลายที่ด้วยกันเพราะว่าเป็นที่เช่าทั้งหมด จำนวน 5 ครั้ง คือ เวทีแรกอยู่ในตลาดรังสิต อยู่ริมคลองรังสิต, ในปี 2509 เวทีมวยรังสิตได้ย้ายไปตั้งอยู่ที่โรงงานกระสอบ (ปัจจุบันเป็นที่ตั้งตรงข้ามโรงงานกษาปณ์) ด้วยเงินลงทุน 160,000 บาท ตั้งอยู่ที่นั้นเป็นเวลา 3 ปี ระหว่างปี 2509-2512, จากนั้นได้ย้ายเวทีเป็นครั้งที่สาม ตั้งอยู่ที่บริเวณประปารังสิต (ตรงหน้าตลาดรัตนโกสินทร์ในปัจจุบัน), แล้วในปีที่ 2513-2523 เวทีมวยรังสิตได้ย้ายไปตั้งอยู่ที่ตลาดรังสิต (ตลาดดอกไม้ในปัจจุบัน) ซึ่งมีอายุสัญญา10ปี เมื่อหมดสัญญาเช่า ทำให้นายอำนวย เกษบำรุงได้ตัดสินใจทำการซื้อที่ดินติดถนนพหลโยธิน ตรงข้ามด่านชั่งในช่วงปี พ.ศ.2522 จำนวน7ไร่เศษ นั่นคือ ตำแหน่งที่ตั้งสนามมวยรังสิตในปัจจุบันนั่นเอง โดยก่อสร้างอย่างมาตรฐานด้วยอาคารคอนกรีตสร้างเหล็กขนาดใหญ่ด้วยงบการก่อสร้างทั้งสิ้นกว่า 100 ล้านบาท และได้เปิดสนามมวยรังสิต หรือ สนามส่งเสริมกีฬาจังหวัดปทุมธานี อย่างเป็นทางการ ในวันพฤหัสบดีที่ 26 ธันวาคม 2528 เวลา 16.15 น. โดยมีนายพิศาล มูลศาสตรสาทร ปลัดกระทรวงมหาดไทย ในสมัยนั้นให้เกียรติเป็นประธานเปิด
 
สนามมวยรังสิต ได้ทำการย้ายสถานที่มาแล้ว 5 ครั้งเนื่องด้วยเป็นสถานที่เช่าทั้งหมด โดยครั้งแรกอยู่ที่ตลาดรังสิต ริม[[คลองรังสิต]]
สนามมวยรังสิต ได้มีการจัดการแข่งขันเรื่อยๆมา และได้การตอบรับจากแฟนมวยและผู้ชมอย่างล้นหลามในทุกๆนัดตลอดหลายสิบปี และได้มีการจัดการแข่งขันมวยไทยมาราธอนขึ้นด้วยในสมัยนั้น นักมวยที่แข่งขันคือ “โคบาล ลูกเจ้าแม่ทรายทอง” VS “พญาผึ้ง” ทำให้มีผู้เข้าชมในสนามกว่า 7,000 คน จนแน่ขนัดทุกตารางนิ้ว ทำให้ยอดเก็บตั๋วได้มากถึง 450,000 บาท ด้วยราคาค่าตั๋วเพียง 40-60 บาท หากเปรียบเทียบในสมัยนี้ยอดตั๋วเกินสามล้านบาทอย่างแน่นอน
 
พ.ศ. 2509 ย้ายไปโรงงานกระสอบ (ตรงข้าม[[โรงกษาปณ์]]ในปัจจุบัน) โดยใช้เงินลงทุน 160,000 บาท
จากนั้นสนามมวยรังสิต โดยนายอำนวย เกษบำรุง ได้ดำเนินการจัดการแข่งขันมวยตลอดมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2509 ถึงปัจจุบัน เป็นเวลากว่า 50 ปี
 
ครั้งที่ 3 ย้ายไปบริเวณประปารังสิต (หน้าตลาดรัตนโกสินทร์ในปัจจุบัน)
ด้วยวิสัยทัศน์และความคิดริเริ่มในการจัดแข่งขันมวยในรูปแบบที่แตกต่างจากสนามมวยอื่นๆทั้งประเทศ ผนวกด้วยเทคโนโลยีแสงสีและเสียงตระการตา สร้างความเร้าใจด้วยมิติใหม่ให้แฟนมวยทั้งรุ่นใหม่-รุ่นเก่า เหมือนชกมวยอยู่ใน Las Vegas เมืองไทยอย่างไรอย่างนั้น โดยเริ่มการแข่งขันนัดแรก เมื่อวันที่ 18 ม.ค.2554 โดยทำการถ่ายทอดสดทางช่อง True Visions ช่อง 102 ทุกๆวันอังคาร เป็นเวลายาวนานกว่า 3 ปีเต็ม
 
ครั้นในปี พ.ศ. 2513 ก็ย้ายไปยังตลาดรังสิต โดยมีสัญญาเช่า 10 ปี
จากนั้น ทางสนามมวยรังสิต หรือ สนามมวยนานาชาติ รังสิต ได้ร่วมมือกับ “สภามวยไทยโลก” ให้มีการถ่ายทอดเพิ่มอีกหนึ่งช่อง คือช่อง TGN (Thai Global Network) โดยเริ่มนัดแรกเมื่อวันอาทิตย์ที่ 10 ก.ค.2554 เป็นเวลาต่อเนื่อง 3 เดือน และรายการมวยไทย "ซุปเปอร์เชง" โดยถ่ายทอดสดทางช่องเคเบิ้ล "ซุปเปอร์เชง" เป็นตั้งแต่ มิ.ย2555 ถึง พ.ค.2556
 
และเมื่อหมดสัญญาเช่า อำนวย เกษบำรุง ได้ทำการซื้อที่ดินติด[[ถนนพหลโยธิน]] ตรงข้ามด่านชั่ง เป็นพื้นที่ประมาณ 7 ไร่ ซึ่งเป็นที่ตั้งสนามมวยรังสิตในปัจจุบัน และได้ทำการเปิดอย่างเป็นทางการ ณ วันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2528}}
เดิมในปี พ.ศ. 2558 สถิติผู้เข้าชมที่เวทีมวยแห่งนี้เฉลี่ยต่อนัด อยู่ที่ 400 คน กระทั่งปี พ.ศ. 2559 จากการประกบคู่มวยต่างศึก ต่างสาย ส่งผลให้มีผู้เดินทางมาเข้าชมต่อนัดเฉลี่ยที่ 700 คน<ref name="SMMSPORT">[http://www.smmsport.com/reader.php?article=6513 “มวยดีวิถีไทย” มวยตู้ที่กำลังจะก้าวขึ้นมาครองใจแฟนมวย - SMMSPORT.com]</ref>
 
เดิมในปี พ.ศ. 2558 สถิติผู้เข้าชมที่เวทีมวยแห่งนี้เฉลี่ยต่อนัด อยู่ที่ 400 คน กระทั่งปี พ.ศ. 2559 จากการประกบคู่มวยต่างศึก ต่างสาย ส่งผลให้มีผู้เดินทางมาเข้าชมต่อนัดเฉลี่ยที่ 700 คน<ref name="SMMSPORT">[http://www.smmsport.com/reader.php?article=6513 “มวยดีวิถีไทย” มวยตู้ที่กำลังจะก้าวขึ้นมาครองใจแฟนมวย - SMMSPORT.com]</ref>
ในปีพ.ศ.2559 - 2560 สนามมวยนานาชาติรังสิตได้มีการจัดแข่งขันมวยไทยเป็นประจำทุกสัปดาห์ๆละ 3 รายการ คือ - รายการ "มวยมันส์ วันศุกร์" ทุกวันศุกร์ ถ่ายทอดสดทางช่อง 24 TRUE4U ตั้งแต่เวลา 18.00-20.00 น. - รายการ "มวยดีวิถีไทย" ทุกวันอาทิตย์ ถ่ายทอดสดทางช่อง 11 NBT ตั้งแต่เวลา 15.00-17.00 น. - รายการ "มวยไทย ททบ.5" ทุกวันอาทิตย์ ถ่ายทอดสดทางช่องททบ.5 ตั้งแต่เวลา 16.05-18.00 น.
 
ในปัจจุบัน ปีพ.ศ.2561 สนามมวยนานาชาติรังสิตได้มีการจัดแข่งขันมวยไทยเป็นประจำทุกสัปดาห์ๆละ 2 รายการ คือ - รายการ "มวยมันส์ วันศุกร์" ทุกวันศุกร์ ถ่ายทอดสดทางช่อง 24 TRUE4U ตั้งแต่เวลา 18.00-20.00น. - รายการ "มวยไทย ททบ.5" ทุกวันอาทิตย์ ถ่ายทอดสดทางช่องททบ.5 ตั้งแต่เวลา 16.05-18.00 น. และยังส่งเสริมมวยเด็กเยาวชนที่มีความแข็งแรงทางร่างกาย ฝึกฝนมวยมานานแต่ไม่มีสังเวียนให้ขึ้นทดสอบฝีมือ โดยจัดแข่งขันเป็นประจำทุกบ่ายวันอาทิตย์ ทั้งนี้สนามมวยรังสิตตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบันได้จัดการแข่งขันมวยไทย-มวยสากลมามากกว่า 2,300 รายการ มีนักมวยเคยขึ้นประลองศึกคนชนคนมาไม่น้อยกว่า 60,000 ชีวิต....
 
== กิจกรรมเพื่อสังคม ==
เส้น 31 ⟶ 29:
 
== การตอบรับ ==
เวทีมวยนานาชาติแห่งนี้ได้รับคำวิจารณ์เชิงบวกด้านบรรยากาศที่โอ่โถง การแยกโซนสำหรับกองเชียร์ที่เห็นได้ชัดเจน มีเครื่องปรับอากาศเปิดตลอดเวลา มีระบบแสงสี, ระบบเสียง, โถงพักคอยหน้าสนาม, ห้องควบคุมสัญญาณการถ่ายทอดสด, ห้องควบคุมระบบไฟฟ้า, ห้องออฟฟิต-การเงินห้องน้ำVIP, ห้องพยาบาล-ห้องชั่งน้ำหนัก, ห้องนักมวยมุมแดงพร้อมห้องอาบน้ำ, ห้องนักมวยมุมน้ำเงินพร้อมห้องอาบน้ำ, ห้องน้ำสำหรับผู้เข้าชมแยกฝั่งชายและหญิงชัดเจนอย่างสะอาด อย่างไรก็ตาม เวทีมวยแห่งนี้มีข้อเสียอยู่บ้างคือ สถานที่จอดรถที่มีอยู่จำกัด ซึ่งสามารถจอดรถได้ประมาณ 300 คัน<ref name="SMMSPORT" />
 
== สิ่งสืบเนื่อง ==
เวทีมวยนานาชาติรังสิต ยังใช้เป็นสถานที่ถ่ายทำละคร, โฆษณา, ภาพยนตร์ทั้งในประเทศและต่างประเทศที่มีชื่อเสียงจำนวนมากกว่า 100 เรื่อง อาทิ ในปี พ.ศ. 2554 ได้มีการถ่ายทำผลงาน ''[[มวยไทย Fight แหลก]]'' ที่นำแสดงโดย[[เจสัน ยัง]]<ref>[http://www.manager.co.th/Drama/ViewNews.aspx?NewsID=9540000145961 “เจสัน ยัง” อึดโครต! โดดขึ้นสังเวียนโชว์พลังหมัด - Manager Online - ผู้จัดการ]</ref>
 
== ดูเพิ่ม ==