ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ป้อมเพชร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนการแก้ไขของ 101.108.67.231 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Sry85
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
บรรทัด 8:
หลังการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง ป้อมเพชรยังคงเป็นด่านปราการสำคัญของเมือง พอถึงสมัย[[รัชกาลที่ 1]] สร้างราชธานีแห่งใหม่ที่กรุงรัตนโกสินทร์ โปรดให้รื้อป้อม กำแพง นำอิฐเหล่านั้นมาสร้างเมืองใหม่ แต่ยังคงเหลือป้อมเพชรไว้ เพราะป้อมเพชรสร้างด้วยศิลาแลง จึงรื้อถอนลำบาก [[พระยาโบราณราชธานินทร์]]อธิบายไว้ว่า "จึงยังคงเหลืออยู่แต่ป้อมเพชร์กับป้อมประตูข้าวเปลือกข้างวัดท่าทราย แลเศษกำแพงที่หน้าวัดญาณเสนแห่งหนึ่ง เศษกำแพงมีประตูช่องกุฏิ์ที่ข้างวัดจีนตรง[[วัดพนัญเชิง]]ข้ามแห่งหนึ่งเท่านั้น ตามสันเชิงเทินรากกำแพงที่รื้ออิฐไปราษฎรที่ตั้งบ้านเรือนอยู่ริมน้ำก็ถือเอาเป็นที่หลังบ้านของตนทั่วกัน"<ref>[http://www.komchadluek.net/news/local/81293 ป้อมเพชร ปราการปกป้องชาวอยุธยาที่ยังเหลืออยู่]</ref>
 
ในสมัยรัชกาลที่ 6 ทรงโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามสกุล [[ณ ป้อมเพชร์]]ให้แก่ [[พระสมุทบุรานุรักษ์ (ขำ)]] ขณะประทับแรมที่อ่างศิลา พ.ศ. 2456 ด้วยบรรพบุรุษของพระสมุทฯ มีถิ่นฐานอยู่บริเวณป้อมเพชร<ref>[http://m.matichon.co.th/readnews.php?newsid=1336200627 "ป้อมเพชร"ปราการป้องศึกเข้า"พระนคร"สมัยกรุงศรีอยุธยา ต้นกำเนิด "สกุล"ดัง]</ref>thailandnoob
 
==อ้างอิง==