ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฝ้าย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 17:
}}
 
[[ไฟล์:Cotton field.jpg|thumb|leftright|การเก็บเกี่ยวฝ้ายใน[[รัฐโอคลาโฮมา]] สหรัฐอเมริกา เมื่อราว พ.ศ. 2433]]
 
'''ฝ้าย''' เป็นพันธุ์ไม้สกุล[[กอสไซเพียม]]ในวงศ์[[ชบา]] เป็นไม้ขนาดเล็ก ถิ่นเดิมอยู่ในแถบทวีป[[อเมริกาใต้]] ต่อมามีการนำไปปลูกในทวีป[[แอฟริกา]] [[เอเชีย]] และที่ที่อยู่ใน[[โซนร้อน]]ทั่ว ๆ ไป<ref>[http://web.archive.org/web/20080625045134/http://www.ogtr.gov.au/pdf/ir/biologycotton08.pdf The Biology of Gossypium hirsutum L. and Gossypium barbadense L. (cotton)]. ogtr.gov.au</ref> ฝ้ายเป็นพืชที่ให้เส้นใยโดยเส้นใยของฝ้ายเกือบทั้งหมดเป็น[[เซลลูโลส]] คำว่า Cotton ซึ่งหมายถึงฝ้ายในภาษาอังกฤษมาจากคำ[[ภาษาอาหรับ]]ว่า ''(al) qutn'' قُطْن <ref name=Metcalf>{{Cite book |title=The World in So Many Words |first=Allan A. |last=Metcalf |publisher=Houghton Mifflin |year=1999 |isbn=0395959209|page =123}}</ref>
 
เปลือกหุ้มเมล็ดฝ้ายมี[[เพกทิน]]ซึ่งประกอบด้วย[[กรดกาแลกทูโรนิก]]และเมทิลเอสเทอร์เป็นองค์ประกอบ สามารถใช้เป็นตัวดูดซับ[[ตะกั่ว]]ใน[[น้ำเสีย]]ได้ โดยถ้าล้างด้วย[[โซเดียมไฮดรอกไซด์]]ก่อนใช้จะดูดซับได้มากขึ้น <ref>Ngah, W.S., and Hanafiah, M.A.K.M. 2008. Removal of heavy metal from wastewater by chemically modified plant wastes as adsorbents: A review. '''Bioresource Technology'''. 99, 3935 – 3948</ref>
 
<br />
<br />
 
 
== ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ==
 
ฝ้ายจัดเป็นไม้ต้นขนาดเล็กหรือไม้พุ่มขนาดกลาง แต่ในทางการเกษตร จะจัดเป็นประเภทพืชล้มลุก เนื่องจากต้นฝ้ายที่มีอายุ 2-3 ปี มักให้ผลผลิตน้อยทำให้ต้องทำการเพาะปลูใหม่ทุกปี เป็นพืชใบเลี้ยงคู่ สูงประมาณ 2-5 ฟุต แตกกิ่งเวียนรอบต้น มักมีขนสั้นปกคลุมบางๆที่ลำต้น <ref>http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=3&chap=3&page=t3-3-infodetail04.html</ref> ''ใบ'' เกิดที่ข้อของลำต้น ก้านใบยาวเท่ากับความกว้างของใบ<ref>http://202.28.48.140/isaninfo/?p=193</ref> แต่สั้นกว่าแผ่นใบ ใบเดี่ยว หยักเป็น 3, 5 หรือ 7 พู พูรูปไข่ถึงรูปใบหอก<ref>http://www.sc.mahidol.ac.th/wiki/doku.php?id=%E0%B8%9D%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A2</ref> มักมีขนสั้นคลุมบางๆที่ก้านใบและใต้ใบ<ref>http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=3&chap=3&page=t3-3-infodetail04.html</ref> หูใบยาว 1-5 เซนติเมตร รูปกึ่งสามเหลี่ยม<ref>http://www.sc.mahidol.ac.th/wiki/doku.php?id=%E0%B8%9D%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A2</ref>
''ดอก'' ดอกเดี่ยว ออกตามซอกใบ<ref>http://www.sc.mahidol.ac.th/wiki/doku.php?id=%E0%B8%9D%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A2</ref> ดอกอ่อน หรือเรียกว่า "ปี้" (bud or aquare) ถูกหุ้มด้วยใบเลี้ยง 3 ใบ ประกบเป็นสามเหลี่ยม ดอกบานกว้างประมาณ 3 นิ้ว มี 5 กลีบดอก เรียงซ้อนกัน สีขาวนวลถึงเหลือง ตอนบ่ายดอกจะกลายเป็นสีชมพูจนถึงแดงและค่อยๆหุบ<ref>http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=3&chap=3&page=t3-3-infodetail04.html</ref> ดอกจะเปลี่ยนเป็นสีม่วงหลังจากบานประมาณ 2-3 วัน<ref>http://202.28.48.140/isaninfo/?p=193</ref> ก้านเกสรเพศผู้เชื่อมติดกันเป็นหลอด ยาว 2-5 เซนติเมตร ก้านเกสรเพศเพศเมียสอดอยู่ในหลอดก้านเกสรเพศผู้ <ref>http://www.sc.mahidol.ac.th/wiki/doku.php?id=%E0%B8%9D%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A2</ref> รังไข่มี 3-4 ห้อง หรือ 4-5 ห้อง แล้วแต่ชนิด (species) <ref>http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=3&chap=3&page=t3-3-infodetail04.html</ref> ''ผล'' ผลแห้งแตก รูปไข่แคบๆ ปลายแคบแหลม เกลี้ยง<ref>http://www.sc.mahidol.ac.th/wiki/doku.php?id=%E0%B8%9D%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A2</ref> ยาวประมาณ 4-5 เซนติเมตร ภายในแบ่งออกเป็นช่องเท่ากับจำนวนช่องในรังไข่ ผลฝ้าย เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "สมอฝ้าย" สมอฝ้ายจะปริออกเมื่อแก่ และดันเมล็ดซึ่งห่อหุ้มด้วยปุยเส้นใยสีขาว (lint) และเส้นใยสั้น (fuzz fibers) ออกมา<ref>http://202.28.48.140/isaninfo/?p=193</ref>
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ฝ้าย"