ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สุวิทย์ ทองประเสริฐ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
อิกคิวซัง (คุย | ส่วนร่วม)
อิกคิวซัง ย้ายหน้า สุวิทย์ ทองประเสริฐ ไปยัง พระสุวิทย์ ธีรธมฺโม ทับหน้าเปลี่ยนทาง
Somanolay (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{Infobox person
| honorific_prefix =
| name = พระนายสุวิทย์ ธีรธมฺโมทองประเสริฐ
| honorific_suffix =
| native_name =
บรรทัด 24:
| residence =
| nationality = ไทย
| other_names = พระพุทธะอิสระนายสุวิทย์
| ethnicity =
| citizenship =
บรรทัด 77:
}}
 
'''พระนายสุวิทย์ ธีรธมฺโมทองประเสริฐ'''<ref>https://www.sanook.com/news/6549390/</ref> หรือที่รู้จักในนามว่า '''อดีตพระพุทธะอิสระ''' หรือ '''อดีตหลวงปู่พุทธะอิสระ''' เป็นอดีตเจ้าอาวาส[[วัดอ้อน้อย]] [[อำเภอกำแพงแสน]] [[จังหวัดนครปฐม]]
 
พระนายสุวิทย์<ref>https://www.khaosod.co.th/breaking-news/news_1128620</ref> เกิดที่กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2499 เป็นบุตรของนายชมภู และนางอัมพร ทองประเสริฐ <ref name="onoi">[http://www.onoi.org/index.php?option=com_content&view=article&id=590&Itemid=68 ชีวประวัติพระนายสุวิทย์ ธีรธมฺโมทองประเสริฐ] อดีตเจ้าอาวาสวัดอ้อน้อย จังหวัดนครปฐม</ref> อุปสมบทครั้งแรกเมื่ออายุ 20 ปี ที่[[วัดคลองเตยใน]] [[เขตคลองเตย]] จากนั้นได้สึกไปรับราชการทหาร และอุปสมบทอีกครั้งจังหวัดพัทลุงเมื่อ พ.ศ. 2526 มีฉายาว่า "พระนายสุวิทย์ ธมฺมธีโร" เป็นผู้ริเริ่มสร้างวัดอ้อน้อยจากที่ดินบริจาคที่ตำบลห้วยขวาง อำเภอกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม ตั้งแต่ พ.ศ. 2532 และได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสวัดอ้อน้อยเมื่อ พ.ศ. 2538 <ref name="onoi"/> ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะตำบลห้วยขวาง แทนเจ้าคณะรูปเดิมที่มรณภาพไปเมื่อ พ.ศ. 2542<ref name="onoi"/>
 
พระอดีตสุวิทย์ ได้ลาออกจากตำแหน่งเจ้าคณะตำบลห้วยขวาง <ref name="onoi"/> พร้อมกับสึกและอุปสมบทใหม่ เมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2544 <ref>[http://phutthaitsara.blogspot.com/2013/07/blog-post_14.htmlhttp://phutthaitsara.blogspot.com/2013/07/blog-post_14.html อดีตหลวงปู่สึกลดพรรษา] กองบรรณาธิการ นิตยสารอาทิตย์ </ref> มีฉายาใหม่ว่า "พระนายสุวิทย์ ธีรธมฺโม"
 
ในวันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 พระนายสุวิทย์ยื่นหนังสือต่อกรมสอบสวนคดีพิเศษเพื่อให้อายัดทรัพย์[[พระธัมมชโย]]<ref>http://www.manager.co.th/Crime/ViewNews.aspx?NewsID=9590000051649</ref>
 
== วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557 ==
ใน[[วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557]] พระนายสุวิทย์ ได้เข้าร่วมกับ[[กปปส.]] (คณะกรรมการประชาชนเพื่อการเปลี่ยนแปลงประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข) ในการชุมนุมขับไล่[[คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 60|รัฐบาล น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร]] โดยได้ขึ้นเวทีแสดงธรรมและให้กำลังใจผู้ชุมนุมหลายครั้ง ในหลายสถานที่ ทั้ง[[อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย]], [[กระทรวงการคลัง]] และ[[ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550|ศูนย์ราชการแจ้งวัฒนะ]]<ref>{{cite web
|url=http://news.tlcthai.com/news/230206.html
|title=อดีตหลวงปู่พุทธะอิสระ นำสวดมนต์ม็อบกระทรวงการคลัง พร้อมปัจฉิมโอวาท
|publisher=tlcthai.com
|date=26 พฤศจิกายน 2556
|accessdate=16 เมษายน 2558}}</ref><ref>{{cite web
|url=http://www.foop.tv/oPzyc3qtn2gvQ
|title=อดีตหลวงปู่พุทธะอิสระ บนเวทีมวลมหาประชาชน ราชดำเนิน
|publisher=foop.tv
|date=8 พฤศจิกายน 2556
|accessdate=16 เมษายน 2558}}</ref>
 
ตั้งแต่วันที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2557 ที่ทางกปปส.ได้เริ่มให้มีการชุมนุมแบบปิดการจราจรในหลายพื้นที่ของกรุงเทพมหานคร และแยกเวทีชุมนุมออกเป็นหลายเวที พระนายสุวิทย์ได้เป็นแกนนำของผู้ชุมนุมที่เวที[[ถนนแจ้งวัฒนะ|แจ้งวัฒนะ]]อีกด้วย โดยถือเป็นเวทีที่อยู่ห่างไกลเวทีอื่นและแกนนำคนอื่น ๆ มากที่สุด<ref>{{cite web
|url=http://www.ryt9.com/s/tpd/1813877
|title=ชัตดาวน์ บางกอก 13 ม.ค.57'กปปส.' VS 'ปู' ใครอึดกว่ากัน
บรรทัด 110:
|accessdate=16 เมษายน 2558}}</ref>
 
ในวันที่ 14 พฤษภาคม ปีเดียวกัน ศาลอาญาอนุมัติหมายจับแกนนำ กปปส. รวม 43 คน ผู้ต้องหาคดี[[กบฏ]] และความผิดอื่น รวม 8 ข้อหา โดยมีชื่อของพระนายสุวิทย์รวมอยู่ด้วย<ref>{{cite web
|url=http://www.thairath.co.th/content/422825
|title=ศาลอาญาอนุมัติหมายจับ 30 แกนนำ กปปส. ที่เหลือยกคำร้อง