ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จังหวัดปทุมธานี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BeckNoDa (คุย | ส่วนร่วม)
จัดระเบียบ
บรรทัด 1:
{{ความหมายอื่น|ดูที่=ปทุมธานี (แก้ความกำกวม)|เปลี่ยนทาง=ปทุมธานี}}
{{กล่องข้อมูล จังหวัด
<!-- ข้อมูลจำเป็น -->
เส้น 34 ⟶ 35:
'''ปทุมธานี''' เดิมสะกดว่า '''ประทุมธานี'''<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2460/A/40.PDF ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนชื่ออำเภอ.] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 34 ตอนที่ ๐ก วันที่ 29 เมษายน 2460</ref> เป็นจังหวัดที่อยู่ในภาคกลางของ[[ประเทศไทย]]และยังเป็นจังหวัดใน[[เขตปริมณฑล]]ของ[[กรุงเทพมหานคร]] มี[[แม่น้ำเจ้าพระยา]]ไหลผ่าน
 
== ประวัติศาสตร์ ==
== สีประจำจังหวัด ==
จังหวัดปทุมธานีมีความเป็นถิ่นฐานบ้านเมืองมาแล้วไม่น้อยกว่า 300 ปี นับตั้งแต่รัชสมัย[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]]แห่ง[[กรุงศรีอยุธยา]] คือ เมื่อ [[พ.ศ. 2202]] มังนันทมิตรได้กวาดต้อนครอบครัวมอญ [[เมาะตะมะ|เมืองเมาะตะมะ]] อพยพหนีภัยจากศึก[[พม่า]] เข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวกรุงเทพทวาราวดีศรีอยุธยา ซึ่งสมเด็จพระนายรายณ์มหาราชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ครอบครัวมอญเหล่านั้นไปตั้งบ้านเรือนอยู่ที่'''[[บ้านสามโคก]]''' ต่อมาในแผ่นดิน[[สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช]]แห่ง[[กรุงธนบุรี]] ชาวมอญได้อพยพหนีพม่าเข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารอีกเป็นครั้งที่ 2 พระองค์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งบ้านเรือนที่บ้านสามโคกอีก และในรัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]] ก็ได้มีการอพยพชาวมอญครั้งใหญ่จาก[[เมาะตะมะ|เมืองเมาะตะมะ]]เข้าสู่ประเทศไทยเรียกว่า "มอญใหญ่" พระองค์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ชาวมอญบางส่วนตั้งบ้านเรือนอยู่ที่บ้านสามโคกอีกเช่นเดียวกัน จากชุมชนขนาดเล็ก บ้านสามโคกจึงกลายเป็น '''เมืองสามโคก''' ในเวลาต่อมา
สีเขียว
 
ต่อมาเมื่อวันที่ [[23 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2358]] [[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]]โปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนชื่อเมืองสามโคก เป็น '''เมืองประทุมธานี''' และเมื่อ [[พ.ศ. 2461]] [[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]โปรดเกล้าฯ ให้ใช้คำว่า "จังหวัด" แทน "เมือง" และให้เปลี่ยนการสะกดชื่อใหม่จาก "ประทุมธานี" เป็น "ปทุมธานี" กลายเป็น '''จังหวัดปทุมธานี''' ต่อมาเมื่อ [[พ.ศ. 2475]] ในสมัย[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]]โปรดเกล้าฯ ให้ยุบ[[จังหวัดธัญบุรี]]มาขึ้นกับจังหวัดปทุมธานี จังหวัดปทุมธานีจึงได้แบ่งการปกครองเป็น 7 อำเภอดังเช่นปัจจุบัน
 
== สัญลักษณ์ประจำจังหวัด ==
เส้น 44 ⟶ 47:
* '''[[เพลงประจำจังหวัด]] :''' เพลงประจำจังหวัดปทุมธานี
 
== การเมืองการปกครอง ==
=== เนื้อเพลง ===
=== หน่วยการปกครอง ===
ถึงสามโคกโศกถวิลถึงปิ่นเกล้า
==== การปกครองส่วนภูมิภาค====
พระพุทธเจ้าหลวงบำรุงซึ่งกรุงศรี
ประทานนามสามโคกเป็นเมืองตรี
ชื่อปทุมธานีเพราะมีบัว
ชาวปทุมล้วนตระหนักในศักดิ์ศรี
มุ่งทำดีด้วยหัวใจมิใฝ่ชั่ว
ชาวปทุมแช่มชื่นพร้อมตื่นตัว
พัฒนาครอบครัวทั่วทุกคน
ชาวปทุมมั่นใจในชาติศาสน์กษัตริย์
ยอดสมบัติวัฒนาสถาผล
ชาวปทุมรู้จักรักเตือนตน
สมค่าคนที่เกิดมาทุกนาที
ชาวปทุมรักปทุมชุ่มชีวิต
ใครมาคิดทำลายเราไม่หนี
มีหลักเมืองเป็นร่มเงาเนาฤดี
ชาวปทุมธานีมีสุขเอย
 
== ประวัติศาสตร์ ==
จังหวัดปทุมธานีมีความเป็นถิ่นฐานบ้านเมืองมาแล้วไม่น้อยกว่า 300 ปี นับตั้งแต่รัชสมัย[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]]แห่ง[[กรุงศรีอยุธยา]] คือ เมื่อ [[พ.ศ. 2202]] มังนันทมิตรได้กวาดต้อนครอบครัวมอญ [[เมาะตะมะ|เมืองเมาะตะมะ]] อพยพหนีภัยจากศึก[[พม่า]] เข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวกรุงเทพทวาราวดีศรีอยุธยา ซึ่งสมเด็จพระนายรายณ์มหาราชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ครอบครัวมอญเหล่านั้นไปตั้งบ้านเรือนอยู่ที่'''[[บ้านสามโคก]]''' ต่อมาในแผ่นดิน[[สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช]]แห่ง[[กรุงธนบุรี]] ชาวมอญได้อพยพหนีพม่าเข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารอีกเป็นครั้งที่ 2 พระองค์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งบ้านเรือนที่บ้านสามโคกอีก และในรัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]] ก็ได้มีการอพยพชาวมอญครั้งใหญ่จาก[[เมาะตะมะ|เมืองเมาะตะมะ]]เข้าสู่ประเทศไทยเรียกว่า "มอญใหญ่" พระองค์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ชาวมอญบางส่วนตั้งบ้านเรือนอยู่ที่บ้านสามโคกอีกเช่นเดียวกัน จากชุมชนขนาดเล็ก บ้านสามโคกจึงกลายเป็น '''เมืองสามโคก''' ในเวลาต่อมา
 
ต่อมาเมื่อวันที่ [[23 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2358]] [[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]]โปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนชื่อเมืองสามโคก เป็น '''เมืองประทุมธานี''' และเมื่อ [[พ.ศ. 2461]] [[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]โปรดเกล้าฯ ให้ใช้คำว่า "จังหวัด" แทน "เมือง" และให้เปลี่ยนการสะกดชื่อใหม่จาก "ประทุมธานี" เป็น "ปทุมธานี" กลายเป็น '''จังหวัดปทุมธานี''' ต่อมาเมื่อ [[พ.ศ. 2475]] ในสมัย[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]]โปรดเกล้าฯ ให้ยุบ[[จังหวัดธัญบุรี]]มาขึ้นกับจังหวัดปทุมธานี จังหวัดปทุมธานีจึงได้แบ่งการปกครองเป็น 7 อำเภอดังเช่นปัจจุบัน
 
== หน่วยการปกครอง ==
=== การปกครองส่วนภูมิภาค===
จังหวัดปทุมธานีแบ่งเขตการปกครองส่วนภูมิภาค (ตามกฎหมายลักษณะปกครองท้องที่) ออกเป็น 7 [[อำเภอ]] 60 [[ตำบล]] 529 [[หมู่บ้าน]] แต่หากไม่นับรวมหน่วยการปกครองในเขตเทศบาลเมืองและเทศบาลนครซึ่งยุบเลิกตำแหน่งกำนันและผู้ใหญ่บ้านแล้ว จะมีทั้งหมด - ตำบล - หมู่บ้าน โดยอำเภอทั้ง 7 อำเภอของจังหวัดปทุมธานี มีรายชื่อและข้อมูลทั่วไปดังนี้
{|class="wikitable sortable"
เส้น 99 ⟶ 80:
<references group=#/>
 
==== การปกครองส่วนท้องถิ่น ====
พื้นที่จังหวัดปทุมธานีประกอบด้วย[[องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น]] 65 แห่ง แบ่งตามประเภทและอำนาจบริหารจัดการภายในท้องที่ได้เป็น [[องค์การบริหารส่วนจังหวัด]] 1 แห่ง [[เทศบาลนคร]] 1 แห่ง [[เทศบาลเมือง]] 9 แห่ง [[เทศบาลตำบล]] 17 แห่ง และ[[องค์การบริหารส่วนตำบล]] 37 แห่ง <ref>กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. กระทรวงมหาดไทย. "สรุปข้อมูล อปท ทั่วประเทศ." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: [http://www.dla.go.th/work/abt/index.jsp http://www.dla.go.th/work/abt/index.jsp] 2556. สืบค้น 20 กันยายน 2556.</ref>
 
เส้น 178 ⟶ 159:
<references group=#/>
 
==รายนาม= รายชื่อผู้ว่าราชการจังหวัด ===
{|
{|class="wikitable"
| width="55%" valign="top" |
! colspan="10" style="background: #ffdead;" | รายพระนามและรายนามผู้ว่าราชการจังหวัดปทุมธานี
{| class="toccolours"
|+'''รายชื่อผู้ว่าราชการจังหวัดปทุมธานี'''
|-
! width="50" style="background: Khaki;text-align: center;"| ลำดับ
! rowspan="1"|พระนาม/ชื่อ
! width="250" style="background: Khaki;text-align: center;"| ชื่อ
! rowspan="1"|เข้ารับตำแหน่ง
! rowspanwidth="1125" style="background: Khaki;text-align: center;"|สิ้นสุดการ เริ่มดำรงตำแหน่ง
! width="125" style="background: Khaki;text-align: center;"| ออกจากตำแหน่ง
|-
| 1
| 1. พระอารักษ์ประชาราษฎร์ (จำปี)
| พระอารักษ์ประชาราษฎร์ (จำปี)
| พ.ศ. 2440
| พ.ศ. 2448
|-
| 2
| 2. [[หม่อมเจ้าขจรศุภสวัสดิ์]]
| [[หม่อมเจ้าขจรศุภสวัสดิ์]]
| 31 ธันวาคม 2448
| 7 พฤษภาคม 2454
|-
| 3
| 3. พระยาพิทักษ์ทวยหาร (ทองคำ กฤษณามระ)
| พระยาพิทักษ์ทวยหาร (ทองคำ กฤษณามระ)
| 7 พฤษภาคม 2454
| 18 พฤศจิกายน 2457
|-
| 4
| 4. พระยาปทุมธานี (ฟื้น กฤษณบัตร์)
| พระยาปทุมธานี (ฟื้น กฤษณบัตร์)
| 18 พฤศจิกายน 2457
| 25 ตุลาคม 2467
|-
| 5
| 5. [[พระยาสมุทรศักดารักษ์ (เจิม วิเศษรัตน์)]]
| [[พระยาสมุทรศักดารักษ์ (เจิม วิเศษรัตน์)]]
| 25 ตุลาคม 2467
| 8 กันยายน 2469
|-
| 6
| 6. พระบริรักหารเทพธานี (เฉลิม กาญจนาคม)
| พระบริรักหารเทพธานี (เฉลิม กาญจนาคม)
| 20 ธันวาคม 2469
| พ.ศ. 2471
|-
| 7
| 7. พระบริรักษ์นครเขตต์ (ท้องย้อย กฤษณจินดา)
| พระบริรักษ์นครเขตต์ (ท้องย้อย กฤษณจินดา)
| พ.ศ. 2471
| พ.ศ. 2473
|-
| 8
| 8. พระประแดงบุรี (สิงห์โต สาริกานนท์)
| พระประแดงบุรี (สิงห์โต สาริกานนท์)
| พ.ศ. 2473
| พ.ศ. 2474
|-
| 9
| 9. พระยาสุรินทร์ฤๅชัย (จันทร์ ตุงคสวัสดิ์)
| พระยาสุรินทร์ฤๅชัย (จันทร์ ตุงคสวัสดิ์)
| พ.ศ. 2474
| ตุลาคม 2476
|-
| 10
| 10. พระศรีนคตรคาม (ทอง สุทธพินทุ)
| พระศรีนคตรคาม (ทอง สุทธพินทุ)
| 25 ตุลาคม 2476
| 7 มีนาคม 2478
|-
| 11
| 11. หลวงนรกิจกำจร (ชื้น วรคามิน)
| หลวงนรกิจกำจร (ชื้น วรคามิน)
| 7 มีนาคม 2478
| 27 ตุลาคม 2480
|-
| 12
| 12. หลวงทรงสรการ (เล็ก กนิษฐสุด)
| หลวงทรงสรการ (เล็ก กนิษฐสุด)
| 7 ธันวาคม 2480
| 1 พฤษภาคม 2484
|-
| 13
| 13. หลวงอุตรดิตถาภิบาล (เนื่อง ปานิกบุตร)
| หลวงอุตรดิตถาภิบาล (เนื่อง ปานิกบุตร)
| 1 พฤษภาคม 2484
| 7 กันยายน 2487
|-
| 14
| 14. นายถนอม วิบูลย์มงคล
| นายถนอม วิบูลย์มงคล
| 4 กันยายน 2487
| 24 เมษายน 2488
|-
| 15
| 15. นายพรหม สูตรสุคนธ์
| นายพรหม สูตรสุคนธ์
| ไม่มีข้อมูล
| ''ไม่มีข้อมูล''
| ''ไม่มีข้อมูล''
|-
| 16
| 16. หลวงศรีนราศัย (ผิว จันทิมาคม)
| หลวงศรีนราศัย (ผิว จันทิมาคม)
| 31 กรกฎาคม 2488
| 20 สิงหาคม 2490
|-
| 17
| 17. หลวงบรรณศาสน์สาธร (สง่า คุปตรักษ์)
| หลวงบรรณศาสน์สาธร (สง่า คุปตรักษ์)
| 20 สิงหาคม 2490
| 12 ธันวาคม 2490
|-
| 18
| 18. นายจำลอง อัศวเวหา
| นายจำลอง อัศวเวหา
| 23 ธันวาคม 2490
| 1 กันยายน 2493
|-
| 19
| 19. ขุนนครรัฐเขตต์
| ขุนนครรัฐเขตต์
| 13 มีนาคม 2493
| 30 เมษายน 2494
|-
| 20
| 20. ขุนบริบาลบรรพตเขตต์
| ขุนบริบาลบรรพตเขตต์
| 1 พฤษภาคม 2494
| 19 กรกฎาคม 2495
|-
| 21
| 21. นายปลั่ง ทัศนประดิษฐ์
| นายปลั่ง ทัศนประดิษฐ์
| 19 กรกฎาคม 2495
| 22 พฤษภาคม 2496
|-
| 22
| 22. นายเชวง ไชยสุด
| นายเชวง ไชยสุด
| 22 พฤษภาคม 2496
| 7 มีนาคม 2497
|-
| 23
| 23. นายบุญยฤิทธิ์ นาคีนพคุณ
| นายบุญยฤิทธิ์ นาคีนพคุณ
| 8 มีนาคม 2497
| 22 พฤษภาคม 2500
|-
| 24
| 24. นายขจรัส ธารีสาร
| นายขจรัส ธารีสาร
| 22 พฤษภาคม 2500
| 1 กรกฎาคม 2506
|-
| 25
| 25. นายพูนสวัสดิ์ กำลังงาม
| นายพูนสวัสดิ์ กำลังงาม
| 22 กรกฎาคม 2506
| 14 เมษายน 2507
|-
| 26
| 26. นายเกษม สุขุม
| นายเกษม สุขุม
| 15 พฤษภาคม 2507
| 19 กุมภาพันธ์ 2508
|-
| 27
| 27. นายพล จุฑางกูร
| นายพล จุฑางกูร
| 1 มีนาคม 2508
| 16 พฤศจิกายน 2510
|-
| 28
| 28. นายประสิทธิ์ อุไรรัตน์
| นายประสิทธิ์ อุไรรัตน์
| 16 พฤศจิกายน 2510
| 8 ตุลาคม 2511
|-
| 29
| 29. นายเยือน สมานนท์
| นายเยือน สมานนท์
| 15 ตุลาคม 2511
| 1 ตุลาคม 2514
|}
| width="45%" valign="top" |
{| class="toccolours"
|+'''รายชื่อผู้ว่าราชการจังหวัดปทุมธานี (ต่อ)'''
|-
! width="50" style="background: Khaki;text-align: center;"| ลำดับ
! width="150" style="background: Khaki;text-align: center;"| ชื่อ
! width="125" style="background: Khaki;text-align: center;"| เริ่มดำรงตำแหน่ง
! width="125" style="background: Khaki;text-align: center;"| ออกจากตำแหน่ง
|-
| 30
| 30. นายกำเกิง สุรการ
| นายกำเกิง สุรการ
| 1 ตุลาคม 2514
| 30 กันยายน 2515
|-
| 31
| 31. นายสุวิทย์ ยิ่งวรพันธ์
| นายสุวิทย์ ยิ่งวรพันธ์
| 1 ตุลาคม 2515
| 30 กันยายน 2516
|-
| 32
| 32. นายเอนก พยัคฆันตร
| นายเอนก พยัคฆันตร
| 1 ตุลาคม 2516
| 4 ตุลาคม 2517
|-
| 33
| 33. พลตรีวิทย์ นิ่มนวล
| พลตรีวิทย์ นิ่มนวล
| 1 ตุลาคม 2517
| 30 กันยายน 2519
|-
| 34
| 34. นายสุธี โอบอ้อม
| นายสุธี โอบอ้อม
| 1 ตุลาคม 2519
| 30 กันยายน 2521
|-
| 35
| 35. ม.ล.ภัคศุก กำภู
| ม.ล.ภัคศุก กำภู
| 8 ตุลาคม 2521
| 27 มิถุนายน 2524
|-
| 36
| 36. นายสำรวย พึ่งประสิทธิ์
| นายสำรวย พึ่งประสิทธิ์
| 27 มิถุนายน 2524
| 30 กันยายน 2528
|-
| 37
| 37. นายชูวงศ์ ฉายะบุตร
| นายชูวงศ์ ฉายะบุตร
| 1 ตุลาคม 2528
| 30 กันยายน 2531
|-
| 38
| 38. นายนิวัฒน์ พิบูลย์
| นายนิวัฒน์ พิบูลย์
| 1 ตุลาคม 2531
| 30 กันยายน 2532
|-
| 39
| 39. นายยุวรัตน์ กมลเวชช
| นายยุวรัตน์ กมลเวชช
| 1 ตุลาคม 2532
| 30 กันยายน 2534
|-
| 40
| 40. นายประสงค์ รณะนันท์
| นายประสงค์ รณะนันท์
| 1 ตุลาคม 2534
| 21 กรกฎาคม 2535
|-
| 41
| 41. ร.อ.ศรีรัตน์ หริรักษ
| ร.อ.ศรีรัตน์ หริรักษ
| 22 กรกฎาคม 2535
| 30 กันยายน 2537
|-
| 42
| 42. นายไพฑูรย์ บุญวัฒน
| นายไพฑูรย์ บุญวัฒน
| 1 ตุลาคม 2537
| 31 กันยายน 2540
|-
| 43
| 43. นางนิพัทธา อมรรัตนเมธา
| นางนิพัทธา อมรรัตนเมธา
| 1 ตุลาคม 2540
| 31 พฤษภาคม 2541
|-
| 44
| 44. คุณหญิงจรัสศรี ทีปิรัช
| คุณหญิงจรัสศรี ทีปิรัช
| 1 มิถุนายน 2541
| 30 กันยายน 2543
|-
| 45
| 45. นายภุชงค์ รุ่งโรจน์
| นายภุชงค์ รุ่งโรจน์
| 1 ตุลาคม 2543
| 30 กันยายน 2546
|-
| 46
| 46. นายวิจิตร วิชัยสาร
| นายวิจิตร วิชัยสาร
| 1 ตุลาคม 2546
| 1 ตุลาคม 2547
|-
| 47
| 47. นายนิวัฒน์ สวัสดิ์แก้ว
| นายนิวัฒน์ สวัสดิ์แก้ว
| 1 ตุลาคม 2547
| 1 ตุลาคม 2548
|-
| 48
| 48. นายนเรศ จิตสุจริตวงศ์
| นายนเรศ จิตสุจริตวงศ์
| 1 ตุลาคม 2548
| 1 ตุลาคม 2549
|-
| 49
| 49. นายเมฆินทร์ เมธาวิกูล
| นายเมฆินทร์ เมธาวิกูล
| 13 พฤศจิกายน 2549
| 30 ตุลาคม 2551
|-
| 50
| 50. นายปรีชา หวย 30 ล้าน
| นายปรีชา บุตรศรี
| 30 ตุลาคม 2551
| 30 กันยายน 2553
|-
| 51
| 51. นายธานี สามารถกิจ
| นายธานี สามารถกิจ
| 1 ตุลาคม 2553
| 9 มกราคม 2554
|-
| 52
| 52. นายพีระศักดิ์ หินเมืองเก่า
| นายพีระศักดิ์ หินเมืองเก่า
| 10 มกราคม 2554
| 25 ตุลาคม 2554
|-
| 53
| 53. นายขจรศักดิ์ สิงโตกุล
| นายขจรศักดิ์ สิงโตกุล
| 26 ตุลาคม 2554
| 30 กันยายน 2555
|-
| 54
| 54. นายศิริพงษ์ ห่านตระกูล
| นายศิริพงษ์ ห่านตระกูล
| 8 ตุลาคม 2555
| 30 กันยายน 2556
|-
| 55
| 55. นายพงศธร สัจจชลพันธ์
| นายพงศธร สัจจชลพันธ์
| 1 ตุลาคม 2556
| 30 กันยายน 2558
|-
| 56
| 56. นายสุรชัย ขันอาสา
| นายสุรชัย ขันอาสา
| 1 ตุลาคม 2558
| 30 กันยายน 2560
|-
| 57
| 57. นายพินิจ บุญเลิศ
| นายพินิจ บุญเลิศ
| 1 ตุลาคม 2560
| ปัจจุบัน
|}
|}
 
== ประชากร ==
{{Historical populations
| title = สถิติประชากรตามทะเบียนราษฎรจังหวัดปทุมธานี
| type = none
| 2549 | 856,790
| 2550 | 896,843
| 2551 | 929,250
| 2552 | 956,376
| 2553 | 985,643
| 2554 | 1,010,898
| 2555 | 1,033,837
| 2556 | 1,053,158
| 2557 | 1,074,058
| footnote = อ้างอิง:[[กรมการปกครอง]] [[กระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)|กระทรวงมหาดไทย]]<ref>สำนักบริหารการทะเบียน. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "จำนวนประชากรและบ้าน." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: [http://stat.dopa.go.th/xstat/popyear.html http://stat.dopa.go.th/xstat/popyear.html] 2555. สืบค้น 3 เมษายน 2556.</ref>
}}
{{โครง-ส่วน}}
 
== เศรษฐกิจ ==
เส้น 422 ⟶ 490:
จังหวัดปทุมธานีมีอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว ในปี พ.ศ. 2543 ประชากรมีรายได้เฉลี่ยต่อคน 2,064,288 บาท/ปี นับว่าสูงเป็นอันดับที่ 6 ของประเทศ รองจาก[[จังหวัดระยอง]] [[จังหวัดชลบุรี|ชลบุรี]] [[กรุงเทพมหานคร]] [[จังหวัดสมุทรสาคร|สมุทรสาคร]] และ[[จังหวัดภูเก็ต|ภูเก็ต]] มีผลิตภัณฑ์มวลรวมมูลค่า 118,489 ล้านบาท รายได้สูงสุดขึ้นอยู่กับภาคอุตสาหกรรมคิดเป็นร้อยละ 69.32 คิดเป็นมูลค่า 82,136 ล้านบาท รองลงมา คือ ภาคบริการ ร้อยละ 7.688 คิดเป็นมูลค่า 9,102 ล้านบาท และสาขาการค้าส่งและค้าปลีก ร้อยละ 5.12 คิดเป็นมูลค่า 6,071 ล้านบาท โดยพื้นที่เขตอำเภอคลองหลวงมีจำนวนโรงงานอุตสาหกรรมหนาแน่นมากที่สุด รองลงมาคืออำเภอเมืองปทุมธานี อำเภอลำลูกกา อำเภอธัญบุรี อำเภอลาดหลุมแก้ว และ อำเภอสามโคก ส่วนพื้นที่ที่มีโรงงานน้อยที่สุดได้แก่ อำเภอหนองเสือ
 
ตลาดขายส่งที่สำคัญในจังหวัดปทุมธานี ได้แก่ ตลาดไท ตลาดสี่มุมเมือง ตลาดพูนทรัพย์ ตลาดรังสิต นอกจากนี้ ยังมีนิคมอุตสาหกรรมต่าง ๆ เช่น [[นิคมอุตสาหกรรมนวนคร]] [[อำเภอคลองหลวง]], สวนอุตสาหกรรมบางกะดี [[อำเภอเมืองปทุมธานี]], และ[[เทคโนธานี]] อำเภอคลองหลวง (ของ[[กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]] ที่ตั้งของ[[สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย]])
=== ตลาดขายส่งที่สำคัญ ===
* [[ตลาดไท]]
* [[ตลาดสี่มุมเมือง]]
* ตลาดพูนทรัพย์
* [[ตลาดรังสิต]]
 
== โครงสร้างพื้นฐาน ==
== สถานพยาบาล ==
=== สาธารณสุข ===
{|
| width="500px" valign="top" |
* [[โรงพยาบาลกรุงสยามเซนต์คาร์ลอส]]
* [[โรงพยาบาลปทุมธานี]]
เส้น 441 ⟶ 508:
* [[สถาบันธัญญารักษ์]]
* [[โรงพยาบาลลำลูกกา]]
| width="500px" valign="top" |
* [[โรงพยาบาลสามโคก]]
* [[โรงพยาบาลธัญบุรี]]
เส้น 452 ⟶ 520:
* โรงพยาบาลเปาโลเมโมเรียล รังสิต
* คลินิกเวชกรรมพญาไทเทเลแคร์คลินิก (กำลังก่อสร้าง)
|}
 
=== การศึกษาและเทคโนโลยี ===
จังหวัดปทุมธานีมีวิสัยทัศน์ที่จะพัฒนาปทุมธานีให้เป็นเมืองศูนย์กลางการศึกษา วิจัย และพัฒนาเทคโนโลยีของภูมิภาค (Education and Technology Hub) พร้อมทั้งเสริมสร้างความเข้มแข็งวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม โดยเฉพาะอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับการเกษตร โดยใช้จุดได้เปรียบของการที่มีสถาบันการศึกษาและวิจัย รวมทั้งภาคอุตสาหกรรมด้านเทคโนโลยี อยู่ในตัวจังหวัดและพื้นที่ใกล้เคียงเป็นจำนวนมาก
 
=== รายชื่อสถาบันการศึกษา ===ในจังหวัดปทุมธานีมีดังนี้
{|
| width="500px" valign="top" |
* [[องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ]]
* [[สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย]]
เส้น 468 ⟶ 539:
* [[มหาวิทยาลัยรังสิต]]
* มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต วิทยาเขตปทุมธานี
| width="500px" valign="top" |
* มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต
* มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์ ศูนย์นพวงศ์
เส้น 476 ⟶ 548:
* [[วิทยาลัยการปกครอง]]
* สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง1
-** วิทยาลัยการอาชีวศึกษาปทุมธานี
-** วิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี
-** วิทยาลัยเทคนิคธัญบุรี
* วิทยาลัยเทคโนโลยีแหลมทอง
|}
 
;โรงเรียน
* :''ดูที่ [[รายชื่อโรงเรียนในจังหวัดปทุมธานี]]''
 
===; สถาบันวิจัย ===
{|
| width="500px" valign="top" |
* [[อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย]]
* [[สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ]] (สวทช.)
เส้น 491 ⟶ 567:
** [[ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ]] (นาโนเทค)
** [[ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ]] (เนคเทค)
| width="500px" valign="top" |
* [[สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย]] (วว.)
* [http://www.ertc.deqp.go.th ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม] (ศวฝ.)
* [http://www.totinnovate.com สถาบันนวัตกรรม ทีโอที] (ทีโอที)
|}
 
== กีฬา ==
=== นิคมอุตสาหกรรม ===
* [[นิคมอุตสาหกรรมนวนคร]] [[อำเภอคลองหลวง]]
* สวนอุตสาหกรรมบางกะดี [[อำเภอเมืองปทุมธานี]]
* [[เทคโนธานี]] อำเภอคลองหลวง (ของ[[กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]], ที่ตั้งของ วว.)
 
=== กีฬา ===
* [[สมาคมกีฬาจังหวัดปทุมธานี]] (สก ปท.)
* [[สโมสรฟุตบอลบางกอกกล๊าส]]
เส้น 506 ⟶ 579:
* [[สโมสรฟุตบอลเพื่อนตำรวจ]]
 
== บุคคลที่มีชื่อเสียง ==
==ประชากร==
{|
{| class="wikitable"
| width="500px" valign="top" |
|-
! colspan="2" | สถิติประชากรจากทะเบียนราษฎร<br> จังหวัดปทุมธานี<ref>สำนักบริหารการทะเบียน. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "จำนวนประชากรและบ้าน." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: [http://stat.dopa.go.th/xstat/popyear.html http://stat.dopa.go.th/xstat/popyear.html] 2555. สืบค้น 3 เมษายน 2556.</ref>
|-
! ปี (พ.ศ.) !! ประชากร
|-
| 2549 ||856,790
|-
| 2550|| 896,843
|-
| 2551 || 929,250
|-
| 2552 || 956,376
|-
| 2553 ||985,643
|-
| 2554 ||1,010,898
|-
| 2555 ||1,033,837
|-
| 2556 ||1,053,158
|-
| 2557 ||1,074,058
|}
 
== ชาวปทุมธานีที่มีชื่อเสียง ==
*[[พระธรรมมงคลเจดีย์ (เฉลียว ฐิตปุญฺโญ)]] [[พระราชาคณะชั้นธรรม]] [[เจ้าอาวาส]][[วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร]]
*[[พระครูบวรธรรมกิจ (เทียน ปุปฺผธมฺโม)]]
เส้น 543 ⟶ 592:
*[[แสน ส.เพลินจิต]]
*[[ฟ้ารุ่ง ยุติธรรม]] - ([[มิสไทยแลนด์ยูนิเวิร์ส 2550]], [[นางแบบ]], [[นักแสดง]])
| width="500px" valign="top" |
*[[เกียรติกมล ล่าทา]] - (ตุ้ย) [[ทรู อคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 3]] นักร้อง นักแสดง
*[[ศิริมงคล สิงห์มนัสศักดิ์]] (นักมวย)
เส้น 550 ⟶ 600:
*[[วริษฐา จตุรภุช]] (สต๊อป) - [[เดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาวปี 8]]
*[[โสรญา ฐิตะวชิระ]] (สมายด์) - [[เดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาวปี 8]]
* '''อนุวัต เฟื่องทองแดง (หนุ่ม)''' - ผู้ประกาศข่าว [[สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7]]
*[[จิดาภา ศิริบัญชาวรรณ]] (จิด้า) - ศิลปินสังกัด [[เอ็มบีโอทีนเอ็นเตอร์เทนเมนต์คอมมิวนิตี|MBO Teen Entertainment]] ในเครือ [[GMM Grammy]]
*[[รายนามสมาชิกบีเอ็นเคโฟร์ตีเอต|กุลจิราณัฐ อินทรศิลป์]] (เจน) ไอดอลวง [[BNK48]]
|}
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง|2}}
 
== ดูเพิ่ม ==