ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษากรีกคอยนี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Msirichit (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Msirichit (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 21:
 
'''ภาษากรีกคอยนี''' หรือ '''ภาษากรีกคอยเน''' ({{lang-en|Koine Greek}}, {{IPAc-en |ˈ|k|ɔɪ|n|iː}},<ref name= collins>{{cite web|url= http://www.collinsdictionary.com/dictionary/english/koine?showCookiePolicy=true |title= Koine
|accessdate= 24 September 2014| work = Collins Dictionary|date=n.d.}}</ref> และในชื่อเรียกต่างๆกัน คือ , also known asได้แก่ '''สำเนียงอเล็กซานเดรีย''', '''แอตติกพื้นบ้าน''', '''ภาษาเฮลเลนิก''' หรือ '''ภาษากรีกไบเบิ้ล''' (โดยเฉพาะพระคริสต์ธรรมใหม่) เป็นรูปแบบของภาษากรีกมาตรฐาน หรือภาษากลาง (ทางวิชาการเรียกว่า ''[[ภาษาคอยเน|ภาษาคอยเน่]]'' หรือ koine language) ที่ใช้ทั้งในการพูดและเขียน ทั่วทั้งบริเวณเมดิเตอเรเนียน และบางส่วนของตะวันออกกลาง ใน[[สมัยเฮลเลนิสติก]] และสมัยโรมันโบราณ จนถึงช่วงต้นของ[[จักรวรรดิไบแซนไทน์|สมัยไบแซนไทน์]] หรือช่วง[[ปลายสมัยโบราณ]] (late antiquity) ภาษากรีกคอยนี เป็นวิวัฒนาการมาจากภาษากรีกโบราณ โดยเริ่มจากการแพร่กระจายของภาษากรีก ในสมัยของพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช ช่วงศตวรรษที่ 4 ก่อนค.ศ. ภาษากรีกคอยนีมีพื้นฐานหลักๆ มาจากภาษากรีกสำเนียงแอตติก และภาษากรีกไอโอนิก ซึ่งเป็นภาษาทางการศึกษาและวรรณคดีในโลกของกรีซโบราณ
 
คำว่า ''คอยนี'' หรือ ''คอยเน่'' ({{lang-en|''Koine''}}) มาจากคำกรีกว่า {{lang|grc|ἡ κοινὴ διάλεκτος}} แปลว่า ภาษาสำเนียงกลาง โดยคำกรีก ''คอยแน'' (κοινή) หมายถึง "ที่ใช้ร่วมกัน" ในประเทศกรีซเรียกภาษานี้ว่า "ภาษาภูมิภาคเฮลเลนิสติก" (Ελληνιστική Κοινή) เมื่อภาษา''กรีกคอยนี'' กลายมาเป็นภาษาที่ใช้ในวงการวรรณกรรม เมื่อราวศตวรรษที่ 1 ก่อนค.ศ. จึงเกิดการแยกภาษาคอยนีที่เป็นภาษาพูด และที่เป็นภาษาเขียนออกจากกัน โดยถือว่าภาษาเขียนของ ''กรีกคอยนี'' เป็นภาษาวรรณกรรมหลังยุคคลาสสิก ส่วนภาษาพูดถือว่าเป็นภาษาที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ไมใช่ภาษาหนังสือ ฯ บางท่านก็เรียกภาษากรีกคอยนีว่าเป็น "ภาษาสำนวนอเล็กซานเดรีย" ({{lang|grc|Ἀλεξανδρέων διάλεκτος}}) ซึ่งถือเป็นสำเนียงสากลของภาษากรีกในสมัยนั้น