ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[Fileไฟล์:DphilProud gowngraduates.jpg|thumb|ผู้มีวุฒิการศึกษาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตบัณฑิตจาก[[มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดแมคกิลล์]]สวมชุด[[ครุยระดับปริญญาเอก]]แสดงถึงวุฒิการศึกษาของเขา]]
[[ไฟล์:Phdposing.png|thumb|กลุ่มบัณฑิตที่ได้รับปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกับอาจารย์ของพวกเขา]]
 
'''ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต''' ({{lang-la|Philosophiae doctor}}, {{lang-en|Doctor of Philosophy}}; '''PhD''', '''Ph.D.''', '''DPhil''' หรือ '''ปร.ด.'''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.mua.go.th/users/bhes/DATA%20BHES2558/criterion_2559.PDF ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง หลักเกณฑ์การกําหนดชื่อปริญญา พ.ศ. ๒๕๕๙] เล่ม 133 ตอนพิเศษ 158 ง, 14 กรกฎาคม 2559, หน้า 6-18</ref>) คือปริญญาทางวิชาการสูงสุดที่ได้รับจากมหาวิทยาลัยในหลายประเทศ การได้รับปรัชญาดุษฎีบัณฑิตมาจากหลักสูตรที่มีความกว้างขวางของสาขาทางวิชาการ การได้มาซึ่งปรัชญาดุษฎีบัณฑิตมักจะเป็นที่ต้องการสำหรับอาชีพ[[อาจารย์|อาจารย์มหาวิทยาลัย]] [[นักวิจัย]] หรือนักวิทยาศาสตร์ในสาขาต่าง ๆ บุคคลที่ได้รับปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตอาจใช้คำนำหน้าว่า''[[ดอกเตอร์ (คำนำหน้านาม)|ดอกเตอร์]]'' (''Doctor'') หรือนิยมเรียกสั้น ๆ ว่า "ดร." ("Dr" ) ในทางกฎหมายได้ หรือในประเทศที่ไม่ใช้ภาษาอังกฤษอาจใช้คำที่แตกต่างกันเช่น "Dr. phil." ในชื่อของพวกเขา และอาจใช้เป็น[[คำนำหลังชื่อ]]เช่น "Ph.D.", "PhD" ขึ้นอยู่กับสถาบันที่ได้รับ
'''ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต''' ({{lang-en|Doctor of Philosophy}}) เป็นประเภทวุฒิการศึกษาในระดับ[[ปริญญาเอก]]ที่ได้รับจากมหาวิทยาลัยในหลายประเทศ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตจะได้รับในสาขาวิชาที่หลากหลายต่าง ๆ ทั้งในหลักสูตรสาขาวิทยาศาสตร์ (ตัวอย่างเช่น [[ชีววิทยา]] [[เคมี]] [[ฟิสิกส์]] [[คณิตศาสตร์]] ฯลฯ) [[วิศวกรรมศาสตร์]] [[มนุษยศาสตร์]] (ตัวอย่างเช่น [[ประวัติศาสตร์]] [[วรรณกรรม]] [[ดนตรีวิทยา]] ฯลฯ) และอื่น ๆ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตถือว่าเป็นปริญญาสูงสุดในหลายสาขา การได้มาซึ่งปรัชญาดุษฎีบัณฑิตมักจะเป็นที่ต้องการสำหรับอาชีพ[[อาจารย์|อาจารย์มหาวิทยาลัย]] [[นักวิจัย]] หรือ[[นักวิทยาศาสตร์]]ในสาขาต่าง ๆ มีความแตกต่างอย่างชัดเจนระหว่าง "ปริญญาที่ต้องเรียนมา" (earned doctorate) ซึ่งได้รับจากการสำเร็จในหลักสูตรที่ศึกษาและ[[วิทยานิพนธ์]] กับ "[[ปริญญากิตติมศักดิ์]]" (honorary doctorate) ซึ่งได้รับจากมหาวิทยาลัยด้วยการประสบความสำเร็จหรือความโดดเด่นส่วนบุคคลที่ไม่ได้สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาเอกหรือจัดทำวิทยานิพนธ์จากมหาวิทยาลัย บุคคลจากปริญญาที่ต้องเรียนมาสามารถใช้[[คำนำหน้าชื่อ]]ว่า "[[ดอกเตอร์ (คำนำหน้านาม)|ดอกเตอร์]]" กับชื่อของพวกเขา และใช้ตัวย่อลงท้ายชื่อ เช่น "Ph.D.", "PhD", "DPhil"<ref>[http://www.economics.ox.ac.uk/Graduate/graduate-courses ''Graduate Courses'', University of Oxford]</ref > หรือ "ปร.ด."<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.mua.go.th/users/bhes/DATA%20BHES2558/criterion_2559.PDF ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง หลักเกณฑ์การกําหนดชื่อปริญญา พ.ศ. ๒๕๕๙] เล่ม 133 ตอนพิเศษ 158 ง, 14 กรกฎาคม 2559, หน้า 6-18</ref>
 
ข้อกำหนดในการได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตมีความแตกต่างกันไปตามแต่ละประเทศ สถาบัน และช่วงสมัย ตั้งแต่ปริญญาการวิจัยในระดับเริ่มต้นจนถึง[[ปริญญาเอก|ปริญญาเอกขั้นสูง]] ในระหว่างการเรียนนักศึกษาจะถูกเรียกว่า ''นักศึกษาปริญญาเอก'' (''doctoral student'' หรือ ''PhD student'') นักศึกษาที่จบการเรียนการสอน [[การสอบประมวลความรู้]]และอยู่ในระหว่างการทำ[[วิทยานิพนธ์]]หรือดุษฎีนิพนธ์ของตนบางครั้งจะถูกเรียกว่า ''ผู้มีสิทธิได้รับปริญญาเอก'' (''doctoral candidate'' หรือ ''PhD candidate'') (ดู [[:en:All but dissertation|All but dissertation]]) นักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาในระดับนี้อาจได้รับปริญญา [[:en:Candidate of Philosophy|Candidate of Philosophy]] ในสถาบันบางแห่ง
ในบริบททางวุฒิการศึกษา คำว่า "ปรัชญา" ไม่ได้หมายถึงสาขาหรือศาสตร์สาขาวิชาการทาง[[ปรัชญา]]เพียงอย่างเดียว แต่ถูกนำมาใช้ในความหมายที่กว้างขึ้นตามความหมายดังเดิมในภาษากรีก คือ "ความรักในความรู้" (love of wisdom) ส่วนใหญ่ในยุโรปทุกสาขา ([[ประวัติศาสตร์]] [[ปรัชญา]] [[สังคมศาสตร์]] [[คณิตศาสตร์]] และ[[ปรัชญาธรรมชาติ]]/[[วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ]])<ref>Sooyoung Chang, ''Academic Genealogy of Mathematicians'', World Scientific, 2010, p. 183.</ref> รวมถึง[[เทววิทยา]] [[นิติศาสตร์]] และ[[แพทยศาสตร์]] (ทั้งหลักสูตรวิชาชีพ อาชีวศึกษา และเทคนิค) เป็นที่รู้ตามธรรมเนียมว่าคือปรัชญา ใน[[เยอรมนี]] และที่อื่น ๆ ในยุโรป คณะพื้นฐานทาง[[ศิลปศาสตร์]]เป็นที่รู้จักกันว่า "คณะปรัชญา"
 
ผู้มีสิทธิได้รับปริญญาเอกจะต้องเสนอโครงการ วิทยานิพนธ์ หรือดุษฎีนิพนธ์ซึ่งประกอบด้วยเนื้อหาที่เป็นจุดเริ่มต้นของการวิจัยทางวิชาการซึ่งเป็นหลักวิชาการที่มีคุณค่าต่อการเผยแพร่ในวารสารที่[[พิชญพิจารณ์]]แล้ว <ref name="ReferenceA">{{cite journal |last1=Dinham |first1=S. |last2=Scott |first2=C. |doi=10.1080/03098770020030498 |title=The Experience of Disseminating the Results of Doctoral Research |journal=Journal of Further and Higher Education |volume=25 |pages=45–55 |year=2001 |pmid= |pmc=}}</ref> ในหลายประเทศผู้มีสิทธิจะต้อง[[วิทยานิพนธ์|สอบป้องกัน]] วิทยานิพนธ์นี้ก่อนที่จัดสรรผู้เชี่ยวชาญที่เป็นคณะกรรมการสอบที่ได้รับการแต่งตั้งจากมหาวิทยาลัย ในบางครั้งมหาวิทยาลัยจะมอบ[[ปริญญาเอก]]ประเภทอื่น ๆ นอกเหนือจากปรัชญาดุษฎีบัณฑิต เช่น [[วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต]] (วศ.ด.) สำหรับวิศวกร และ[[ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต]] (ศษ.ด.) สำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษา ในปี 2005 [[สมาคมมหาวิทยาลัยยุโรป]]ได้กำหนด''หลักซาลซ์บูร์ก'' (''Salzburg Principles'') ถึงหลักพื้นฐานสิบประการสำหรับปริญญาขั้นที่สาม (ปริญญาเอก) ภายใต้[[กระบวนการโบโลญญา]]<ref>{{cite web|url=http://eua.be/eua/jsp/en/upload/Salzburg_Report_final.1129817011146.pdf|title=BOLOGNA SEMINAR: DOCTORAL PROGRAMMES FOR THE EUROPEAN KNOWLEDGE SOCIETY|publisher=European Universities Association|author=Kirsti Koch Christensen |date=2005}}</ref> ตามมาด้วย ''หลักฟลอเรนซ์'' ในปี 2016 ประกอบด้วยหลักพื้นฐานเจ็ดประการสำหรับปริญญาเอกในสาขาศิลปะที่กำหนดโดย[[สันนิบาตแห่งสถาบันศิลปะยุโรป]] ซึ่งได้รับการรับรองโดย[[สมาคมโรงเรียนสอนศิลปะยุโรป]] [[สมาคมโรงเรียนภาพยนตร์และโทรทัศน์นานาชาติ]] สมาคมมหาวิทยาลัยและวิทยาลัยศิลปะ การออกแบบ และสื่อนานาชาติ และ[[สมาคมเพื่อการวิจัยศิลปะ]]
 
ในบริบททางวุฒิการศึกษาของปรัชญาดุษฎีบัณฑิตและชื่อปริญญาอื่น ๆ ที่คล้ายกัน คำว่า "ปรัชญา" ไม่ได้หมายถึงสาขาหรือศาสตร์สาขาวิชาการทาง[[ปรัชญา]]เพียงอย่างเดียว แต่ถูกนำมาใช้ในความหมายที่กว้างขึ้นตามความหมายดังเดิมดั้งเดิมในภาษากรีก คือ "ความรักในความรู้ปัญญา" (love of wisdom) ส่วนใหญ่ในยุโรปทุกสาขา ([[ประวัติศาสตร์]] [[ปรัชญา]] [[สังคมศาสตร์]] [[คณิตศาสตร์]] และ[[ปรัชญาธรรมชาติ]]/[[วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ]])<ref>Sooyoung Chang, ''Academic Genealogy of Mathematicians'', World Scientific, 2010, p. 183.</ref> รวมถึง[[เทววิทยา]] [[นิติศาสตร์]] และ[[แพทยศาสตร์]] (ทั้งหลักสูตรวิชาชีพ อาชีวศึกษา และเทคนิค) เป็นที่รู้ตามธรรมเนียมว่าคือปรัชญา ใน[[เยอรมนี]] และที่อื่น ๆ ในยุโรป คณะพื้นฐานทาง[[ศิลปศาสตร์]]เป็นที่รู้จักกันว่า "คณะปรัชญา"
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:คำนำหน้าชื่อ]]
[[หมวดหมู่:ปริญญาเอก]]