ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปรัชญา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Msirichit (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Msirichit (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
ปรัชญา ตาม[[พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน]] แปลว่า วิชาว่าด้วยหลักแห่งความรู้และหลักแห่งความจริง โดยในบรรดาความรู้ทั้งหลายของมนุษยชาตินั้น อาจแบ่งได้เป็นสองเรื่องใหญ่ ๆ
 
เรื่องที่หนึ่ง คือ '''เรื่องเกี่ยวกับ[[ธรรมชาติ]]''' เช่น [[ฟิสิกส์]] มีเป้าหมายในการศึกษาเพื่อหาความจริงต่าง ๆ และเข้าใจในธรรมชาติมากกว่าสิ่งรอบตัวเพราะรวมไปถึงจักรวาลทั้งหมดอย่างลึกซึ้ง [[ชีววิทยา]] มีเป้าหมายในการศึกษาเกี่ยวกับสิ่งที่มีชีวิตทั้งหลาย [[เคมี]] มีเป้าหมายในการศึกษาเกี่ยวกับธาตุและองค์ประกอบของธาตุ เป็นต้น นับแต่สมัยกรีกโบราณมาจนถึงศตวรรษที่ 19 การศึกษาวิชาดาราศาสตร์ การแพทย์ และฟิสิกส์ เคยถูกรวมอยู่สาขา[[ปรัชญาธรรมชาติ]] (Natural philosophy) จนกระทั่งการเติบโตของมหาวิทยาลััยสมัยใหม่ ส่งผลให้นักวิชาการหันไปพัฒนาศาสตร์เฉพาะทางขึ้นมา
 
เรื่องที่สอง คือ '''เรื่องเกี่ยวกับ[[สังคม]]''' เช่น [[เศรษฐศาสตร์]] มีเป้าหมายในการศึกษาเกี่ยวกับระบบเศรษฐกิจของสังคม [[รัฐศาสตร์]] มีเป้าหมายในการศึกษาเกี่ยวกับระบบการเมืองการปกครองของสังคม [[นิติศาสตร์]] มีเป้าหมายในการศึกษาเกี่ยวกับระบบกฎหมายของสังคม เป็นต้น
บรรทัด 15:
 
นักปรัชญาสนใจในเรื่องของ [[การมีอยู่]] (Existence) หรือ[[การเป็นอยู่]] [[คุณธรรม]] [[ความรู้]] [[ความจริง]] และ[[ความงาม]]
นักปรัชญา ตั้งคำถามกับแนวคิดเหล่านี้ --- ซึ่งเป็นเรื่องที่อยู่นอกขอบเขตของการศึกษาของ[[วิทยาศาสตร์]]ในอดีต
ในอดีต
 
เรื่องที่อยู่ในขอบเขตการศึกษาของปรัชญา มีจำนวนมาก อาทิเช่น
เส้น 23 ⟶ 22:
เราจะตรวจสอบว่า ความคิดใดถูกต้องหรือไม่ ได้อย่างไร?
ธรรมชาติของความคิดและการคิดเป็นอย่างไร?
 
* ความคิดที่ถูกต้องเป็นสิ่งสัมบูรณ์หรือว่าเป็นสิ่งสัมพัทธ์?
 
* ธรรมชาติของความรู้เป็นอย่างไร?
ความรู้ เกิดจากเหตุปัจจัยใดบ้าง?
อะไรคือกระบวนการที่ทำให้ได้มาซึ่งความรู้?
 
* การกระทำ ควรจะมีเป้าหมายขั้นสุดท้ายอยู่ที่อะไร?
 
* มีความแตกต่างระหว่างสิ่งที่ดีกับสิ่งที่ชั่วหรือไม่? อะไรคือเกณฑ์แบ่งแยกระหว่างดีและชั่ว?
 
* อะไรคือความจริง? อะไรคือสิ่งที่มีอยู่? จักรวาลนี้มีพระเจ้าหรือไม่?
* ธรรมชาติพื้นฐานของสรรพสิ่งคืออะไร?
 
* สรรพสิ่งมีอยู่ด้วยตัวของมันเองนอกเหนือการรับรู้ของเราหรือไม่?
 
* ธรรมชาติของสถานที่และเวลาเป็นอย่างไร?
 
* คนเรา เกิดมาทำไม? การมีสติรู้คืออะไร?
 
* ความงามเป็นเรื่องที่ขึ้นอยู่กับผู้ที่รับรู้หรือไม่? หรือว่าเป็นสิ่งสากลที่เป็นจริงในตัวเองแม้จะไม่ถูกรับรู้?
 
* องค์ประกอบของความงามคืออะไร? อะไรคือศิลปะ?
 
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ปรัชญา"