ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สัทธรรมปุณฑรีกสูตร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Goryeo-Illustrated manuscript of the Lotus Sutra c.1340.jpg|350px|thumb|สัทธรรมปุณฑรีกสูตร ฉบับ[[อักษรฮันจา]] ([[อักษรจีน]]ที่ใช้ใน[[ประเทศเกาหลี]]) สมัย[[ราชวงศ์โครยอ]] เขียนขึ้นราว ค.ศ. 1340]]
'''สัทธรรมปุณฑริกสูตรปุณฑรีกสูตร''' ({{lang-sa|सद्धर्मपुण्डरीकसूत्र}}, ''{{IAST|Saddharma Puṇḍarīka Sūtra}}'') เป็น[[พระสูตร]]ที่สำคัญใน[[พุทธศาสนา]]ฝ่าย[[มหายาน]] เป็นที่เลื่อมใสศรัทธาในพุทธศาสนิกชนมหายานโดยเฉพาะในประเทศเอเชียตะวันออก เป็นสัทธรรมที่พระพุทธเจ้าเทศนาในช่วง 8 ปีสุดท้ายก่อนปรินิพพาน
 
สมัยแห่งการบันทึกพระสูตรเป็นลายลักษณ์อักษรเป็นครั้งแรกนั้นไม่มีมติที่แน่นอน ซึ่งการค้นพบต้นฉบับของสัทธรรมปุณฑริกสูตรในหลายสถานที่จากหลากหลายภูมิภาค สัทธรรมปุณฑริกสูตรมีการแปลเป็นหลายภาษา และมีการคัดลอกต้นฉบับตลอดช่วงเวลาอันยาวนาน อันเป็นข้อพิสูจน์ว่าสัทธรรมปุณฑริกสูตรเป็นที่เคารพบูชาของประชาชนจำนวนมากในหลากหลายเชื้อชาติ โดยมีการค้นพบต้นฉบับภาษาต่าง ๆ อันได้แก่ สันสกฤต บาลี คานธารี โขตาน ซากา โตคาเรียน ซอกเดีย อุยกูร์เก่า ทิเบต จีน มองโกเลีย แมนจู ซีเซี่ย(ตันกัต) เกาหลี เวียดนาม เป็นต้น ตัวอย่างของสะสมจากสถาบันต้นฉบับภาษาตะวันออกแห่งสมาคมวิทยาศาสตร์รัสเซียมีต้นฉบับคัมภีร์ภาษาสันสกฤต คัดลอกด้วยตัวอักษรพราหมีเตอร์กีสถานใต้ ราวคริสต์ศตวรรษที่ 8-9 ต้นฉบับแปลภาษาจีน คัดลอกราวคริสต์ศตวรรษที่ 5 ต้นฉบับแปลภาษาอุยกูร์เก่า คัดลอกราวคริสต์ศตวรรษที่ 9
บรรทัด 6:
ในปัจจุบันมีการแปลเป็นภาษา อังกฤษ อิตาเลียน เกาหลี เยอรมัน ฝรั่งเศส ไทย ลาว กรีก สเปน เป็นต้น
 
วินเตอร์นิตซ์ได้เสนอความเห็นว่า พระ[[นาคารชุน]]ได้อ้างถึงข้อความจากสัทธรรมปุณฑรีกสูตรอยู่หลายตอน เพราะฉะนั้นต้นฉบับเดิมย่อมต้องมีอยู่แล้วใน พ.ศ. 693 จึงสันนิษฐานได้ว่าสัทธรรมปุณฑริกปุณฑรีกสูตรน่าจะมีอายุไม่ต่ำกว่าพุทธศตวรรษที่ 6 ซึ่งเป็นช่วงระยะเวลาที่ความคิดแบบมหายานพัฒนาขึ้นอย่างสมบูรณ์แล้วใน[[อินเดีย]]
 
== ชื่อ ==
{{พุทธศาสนา}}
 
ชื่อดั้งเดิมของพระสูตรนี้ในภาษาสันสกฤตคือ "สัทธรรมปุณฑริกสูตรปุณฑรีกสูตร" ({{lang-sa|सद्धर्मपुण्डरीकसूत्र}}; Saddharma Puṇḍarīka Sūtra; สทฺธรฺมปุณฺฑรีกสูตฺร) แปลว่า พระสูตรว่าด้วยบัวขาวแห่งธรรมอันล้ำเลิศ ("ปุณฑรีก" หมายถึง [[บัวขาว]]) ในภาษาอังกฤษเรียกตามความหมายว่า "Sūtra on the White Lotus of the Sublime Dharma" แต่นิยมเรียกทั่วไปโดยย่อว่า "Lotus Sūtra" (แปลว่า "พระสูตรบัวขาว") พระสูตรนี้ได้รับความนับเป็นอย่างมากในบรรดาประเทศที่นับถือศาสนาพุทธแบบมหายาน มีการแปลชื่อพระสูตรออกเป็นชื่อภาษาท้องถิ่นของประเทศต่างๆ ดังนี้
 
*[[ภาษาจีน|จีน]]: 妙法蓮華經 ''miàofǎ liánhuá jīng'' (เมี่ยวฝ่าเหลียนฮฺวาจิง) เรียกโดยย่อว่า 法華經 ''fǎhuá jīng'' (ฝ่าฮฺวาจิง)
บรรทัด 19:
*{{lang-vi|''Diệu pháp liên hoa kinh''}} (เซียวฟ้าบเลียนฮวากิญ) เรียกโดยย่อว่า ''Pháp hoa kinh'' (ฟ้าบฮวากิญ)
 
== สาระสำคัญ ==
 
พระศากยมุนีพุทธะ ทรงค้นพบว่ามี “จักรวาลภายใน” ที่กว้างใหญ่อยู่ในพระวรกายของพระองค์เอง ทรงก้าวข้ามตัวตนชีวิตภายใน และแผ่ขยายตัวตนชีวิตนี้ออกไป จนเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับจักรวาลภายนอกที่ยิ่งใหญ่ ซึ่งก็คือพลังชีวิตของจักรวาล ที่พระองค์ทรงตรัสรู้ว่าคือธรรมะหรือกฎของชีวิต เมื่อทรงตรัสรู้แล้ว ปัญญาและความเมตตากรุณาของพระองค์มุ่งไปที่การช่วยให้ประชาชนหลุดพ้นจากความทุกข์ สิ่งนี้ปรากฏให้เห็นอยู่ในคัมภีร์ทางพุทธศาสนาจำนวนมาก
บรรทัด 55:
 
ภาษาต้นฉบับที่จารึกพระสูตรนั้นไม่ปราฏชัด มีข้อเสนอว่า อาจแต่งเป็นภาษาถิ่น[[ปรากฤต]] จากนั้นจึงแปลเป็น[[ภาษาสันสกฤต]] ทำให้พระสูตรนี้เป็นที่แพร่หลายมากขึ้น ต่อมามีการแปลเป็น[[ภาษาจีน]]ถึง 6 สำนวน แต่สามฉบับแรกต้นฉบับสาบสูญไปแล้ว เหลือเพียงสามฉบับหลัง คือ
 
* ฉบับพระภิกษุธรรมรักษ์ แปลเมื่อ พ.ศ. 829 นับเป็นฉบับที่เก่าแก่ที่สุดที่ยังหลงเหลือในปัจจุบัน
* ฉบับ[[พระกุมารชีพ]] ชาวเอเชียกลาง แปลเมื่อ พ.ศ. 934 กล่าวกันว่าเป็นฉบับที่แปลความได้สละสลวยที่สุด
เส้น 74 ⟶ 75:
 
=== ฉบับภาษาไทย ===
สัทธรรมปุณฑริกสูตรปุณฑรีกสูตร ที่แปลเป็นภาษาไทยมีหลายฉบับ แต่ฉบับที่สมบูรณ์มี 3 ฉบับ ได้แก่
 
*สัทธรรมปุณฑริกสูตรปุณฑรีกสูตร ฉบับแปล [[สมาคมสร้างคุณค่า]]ในประเทศไทย จากพากย์อังกฤษสู่พากย์ไทย
*สัทธรรมปุณฑริกสูตรปุณฑรีกสูตร ฉบับแปล [[ศูนย์ไทย-ธิเบต]] แปลโดย รศ.ดร.[[ฉัตรสุมาลย์ กบิลสิงห์]] (ภิกษุณีธัมนันทา) จากพากย์อังกฤษสู่พากย์ไทย
*สัทธรรมปุณฑริกสูตรปุณฑรีกสูตร ฉบับแปล [[วัดโพธิ์แมนคุณาราม]] แปลโดย [[ชะเอม แก้วคล้าย]]
 
ฉบับแปลไม่สมบูรณ์ อาทิ ฉบับ อ.เลียง เสถียรสุต (บทสมันตมุขปริวรรต) แปลจาก[[ภาษาจีน]]