ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอสคิลัส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 15:
}}
 
'''เอสคีลัส''' ({{lang-en|Aeschylus}}; {{lang-grc|Αἰσχύλος}} ''ไอส-คู-ลอส''; {{IPA-el|ai̯s.kʰý.los|anc}}; ราว 525/524 – 456/455 ปีก่อนคริสตกาล) เป็นนักประพันธ์บทละครชาวกรีกโบราณ และได้รับการขนานนามว่าเป็นบิดาแห่งโศกนาฏกรรม<ref>{{harvnb|Freeman|1999|p=243}}</ref><ref>{{cite book|author =[[August Wilhelm von Schlegel|Schlegel, August Wilhelm von]]|page=121|url=http://www.gutenberg.org/etext/7148|title=Lectures on Dramatic Art and Literature}}</ref> งานประพันธ์ของเอสคิลัสคีลัสเป็นงานโศกนาฏกรรมชุดแรกสุดที่เหลือรอดมาจากยุคโบราณ และความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับงานประเภทนี้ในสมัยแรกเริ่ม ล้วนแต่ได้มาจากการอนุมานผ่านงานที่หลงเหลืออยู่ของท่าน<ref>R. Lattimore, ''Aeschylus I: Oresteia'', 4</ref><ref>Martin Cropp, 'Lost Tragedies: A Survey'; ''A Companion to Greek Tragedy'', p. 273</ref> เอสคิลัสคีลัสจึงเป็นบุคคลที่สำคัญอย่างยิ่งในประวัติศาสตร์[[วรรณกรรมกรีกโบราณ]] อริสโตเติลให้เครดิตเอสคิลิสคีลิสในฐานะเป็นผู้ศิลปินคนแรกที่ขยายจำนวนนักแสดงบนเวทีการละครของกรีก ทำให้สามารถนำเสนอความขัดแย้งระหว่างตัวละครได้ ในขณะที่ก่อนหน้านั้นการละครของกรีกมีแค่ตัวนักแสดงนำกับกลุ่มประสานเสียง (คอรัส)<ref>จารึกเพื่อรำลึกเหตุการณ์ใน ศตวรรษที่ 3 ก่อน ค.ศ. ให้รายชื่อของนักประพันธ์ศิลปะการละครไว้ 4 ท่าน ซึ่งเป็นผู้ชนะการแข่งขันการประกวดละครที่เทศกาลไดโอไนเซียก่อนเอสคิลัส โดย ''Thespis'' เป็นบุคคลที่ถือกันตามธรรมเนียมแต่เดิมว่าเป็นผู้คิดค้นศิลปะโศกนาฏกรรมขึ้น บางบันทึกก็กล่าวว่าละครโศกนาฏกรรมถูกคิดค้นขึ้น ณ กรุงเอเธนส์ ในราวทศวรรษที่ 530s ก่อนค.ศ. (Martin Cropp (2006), "Lost Tragedies: A Survey" in ''A Companion to Greek Tragedy'', pp. 272–74)</ref>
 
ในระหว่างที่มีชีวิตอยู่ เอสคิลัสคีลัสประพันธ์บทละครไว้ระหว่าง 70 ถึง 90 เรื่อง แต่เหลือรอดมาถึงปัจจุบันเพียง 7 เรื่อง หนึ่งในนั้น ''[[พันธนาการโพรมีเทียส]]'' (Prometheus Bound) ยังเป็นที่ถกเถียงกันในเรื่องตัวตนของผู้ประพันธ์ (บ้างเชื่อว่า [[ยูฟอเรียน]] บุตรชายของเอสคิลัสคีลัส เป็นผู้แต่งขึ้น) งานนาฎกรรมบทละครที่เอสคิลัสคีลัสประพันธ์ขึ้น เป็นงานที่แต่งเพื่อเข้าแข่งขันในงานเทศกาลต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งงานเทศกาล[[ไดโอไนซัส]] ซึ่งจัดขึ้นเป็นประจำทุกปีในฤดูใบไม้ผลิ ที่เมือง[[ไดโอไนเซีย]] (Dionysia) ซึ่งมีการแข่งขันสองรอบ คือ รอบแข่งขันงานโศกนาฏกรรม และรอบแข่งขันงานสุขนาฏกรรม (comedies) งานทั้งหมดที่เหลือรอดมาของเอสคิลัส ได้แก่ ''[[ชาวเปอร์เซีย (เอสคิลัสคีลัส)|ชาวเปอร์เซีย]]'', ''[[ธีบส์กับผู้รุกรานทั้งเจ็ด]]'', ''[[ดรุณีร้องทุกข์]]'', ไตรภาคโศกนาฏกรรม ''[[โอเรสเตอา]]'' ประกอบด้วย: ''อะกาเมมนอน,'' ''ผู้ถือทักษิโณทก'' (the Libation Bearers), และ ''ยูเมนิดีส'' (the Eumenides) เคยได้รับรางวัลชนะเลิศในการแข่งขันละครโศกนาฏกรรม ที่เมืองไดโอไนเซียมาแล้วทั้งสิ้น เว้นก็แต่ ''[[พันธนาการโพรมีเทียส]]'' เท่านั้น นอกจากนี้เอสคิลัสอาจเป็นนาฏศิลปินเพียงท่านเดียว (เท่าที่ทราบ) ที่เคยนำเสนอละครเป็นโศกนาฏการมไตรภาค ละครเรื่อง ''[[โอเรสเตอา]]'' เป็นตัวอย่างเดียวของบทประพันธ์ไตรภาคที่หลงเหลือมาจากยุคโบราณ
 
ในวัยหนุ่มเอสคิลัสคีลัสเคยเป็นทหารที่ร่วมรบในสงครามระหว่างกรีซกับเปอร์เซียทั้งสองครั้ง ในตอนต้นของศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสตกาล ในปีที่ 490 ก่อนค.ศ. เอสคิลัสกับคีลัสกับ[[ไคนีจิรัส]]น้องชายเข้าร่วมต่อสู้ใน[[ยุทธการที่มาราธอน]] เพื่อปกป้องเอเธนส์จากกองทัพของกษัตริย์[[ดาไรอัสมหาราช|ดาริอัสที่ 1]] น้องชายของท่านตายในการต่อสู้และทั้งสองได้รับการยกย่องให้เป็น "วีรบุรุษแห่งทุ่งมาราธอน" ต่อมาพอ[[จักรพรรดิเซิร์กซีสมหาราช|พระเจ้าเซิร์กซีสแห่งเปอร์เชีย]]ยกทัพมาอีก ในปีที่ 480/479 ก่อนค.ศ. เอสคิลีสคีลัสก็เข้ารับใช้ชาติอีกครั้งใน[[การบุกครองกรีซครั้งที่สองของเปอร์เซีย|สงครามครั้งที่สอง]]กับเปอร์เซีย และเข้าร่วมรบใน[[ยุทธนาวีที่ซาลามิส]] สงครามเปอร์เซียมีอิทธิพลต่อชีวิตและงานของเอสคิลัสอย่างมากคีลัสอย่างมาก ละครบางเรื่องของท่าน เช่น ''[[ชาวเปอร์เซีย (เอสคิลัส)|ชาวเปอร์เซีย]]'' (''The Persians'') ได้รับแรงบัลดาลใจมาจากการศึกในสมรภูมิที่ซาลามิส และได้รับรางวัลชนะเลิศการประกวดละครที่ไดโอไนเซีย เมื่อปีที่ 472 ก่อนค.ศ.
 
เอสคิลัสคีลัสถึงแก่กรรมที่เมือง[[เจลา]] ในซิซิลี เมื่อปีที่ 456 ก่อนค.ศ.
 
==อ้างอิง==