ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แรกนาขวัญ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Shoshui (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 36:
|relatedto =
}}
[[ไฟล์:Saya Chone's "Royal Ploughing Ceremony".png|thumb|300250px|ภาพวาดในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 แสดงพิธีแรกนาขวัญในพม่า]]
'''แรกนาขวัญ''' ({{lang-en|Ploughing Ceremony}}; {{lang-km|បុណ្យច្រត់ព្រះនង្គ័ល}}; {{lang-my|မင်္ဂလာလယ်တော် ''Mingala Ledaw'' หรือ လယ်ထွန်မင်္ဂလာ ''Lehtun Mingala''}}) เป็นชื่อพิธีกรรมที่พบเห็นได้ในหลายประเทศทางแถบเอเชีย จัดขึ้นเพื่อเริ่มต้นฤดูการปลูกข้าวแบบดั้งเดิม
 
ในประเทศไทย การแรกนาขวัญซึ่งกระทำโดยราชสำนักนั้นประกอบด้วยพิธีสองอย่างตามลำดับ คือ '''พระราชพิธีพืชมงคล''' เป็นพิธีพุทธซึ่งตั้งขึ้นในรัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ]] กับ'''พระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ''' เป็นพิธีพราหมณ์ซึ่งกระทำสืบเนื่องมาแต่สมัยสุโขทัย ปัจจุบัน เรียกวันแรกนาขวัญว่า '''วันพืชมงคล''' ซึ่งจัดไม่ตรงกันทุกปีสุดแต่[[สำนักพระราชวัง]]จะกำหนด วันพืชมงคลยังเป็น[[วันเกษตรกรไทย]] เพื่อระลึกถึงความสำคัญของเกษตรกรรมในเศรษฐกิจไทย และเป็นวันหยุดราชการด้วย แต่ไม่เป็นวันหยุดธนาคาร
บรรทัด 43:
== ประเทศไทย ==
=== พระราชพิธีพืชมงคล ===
เป็นพิธีทางพุทธศาสนา มีพระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎทรงกำหนดให้มีขึ้นเป็นครั้งแรก เป็นพิธีทำขวัญเมล็ดพืชพันธุ์ต่าง ๆ เช่น ข้าวเปลือกเจ้า ข้าวเหนียว ข้าวฟ่าง ข้าวโพด ถั่ว งา เป็นต้น ฯลฯ มีจุดมุ่งหมายที่จะให้เมล็ดพันธุ์เหล่านั้น ปราศจากโรคภัยและให้อุดมสมบูรณ์เจริญงอกงามดี
เป็นพิธีทางพุทธศาสนา มีพระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์
 
<!--รายละเอียดพิธี-->
เป็นพิธีสงฆ์ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎทรงกำหนดให้มีขึ้นเป็นครั้งแรก เป็นพิธีทำขวัญเมล็ดพืชพันธุ์ต่าง ๆ เช่น ข้าวเปลือกเจ้า ข้าวเหนียว ข้าวฟ่าง ข้าวโพด ถั่ว งา เป็นต้น ฯลฯ มีจุดมุ่งหมายที่จะให้เมล็ดพันธุ์เหล่านั้น ปราศจากโรคภัยและให้อุดมสมบูรณ์เจริญงอกงามดี
=== พระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ ===
เป็นพิธีทางศาสนาพราหมณ์ เป็นพิธีพราหมณ์มีมาแต่โบราณ เป็นพิธีเริ่มต้นการไถนาเพื่อหว่านเมล็ดข้าว มีจุดมุ่งหมายที่จะให้เป็นอาณัติสัญญาณว่า '''บัดนี้ฤดูกาลแห่งการทำนาและเพาะปลูกได้เริ่มขึ้นแล้ว''' พระราชพิธีทั้งสองนี้ ได้กระทำเต็มรูปแบบมาเรื่อย ๆ จนถึงปี พ.ศ. 2479 ได้เว้นไปชั่วระยะเวลาหนึ่ง ด้วยสถานการณ์โลกและบ้านเมืองอยู่ในภาวะที่ไม่สมควรจะจัดงานใด ๆ จึงว่างเว้นไป 10 ปี ต่อมาทางราชการพิจารณาเห็นว่าประเทศไทย เป็นประเทศกสิกรรม โดยเฉพาะทำนาควรจะได้ฟื้นฟู ประเพณีเก่าอันเป็นมงคลแก่การเพาะปลูก ดังนั้น ใน พ.ศ. 2490 จึงกำหนดให้มีพิธีพีชมงคลขึ้นอีก แต่มีแค่พระราชพิธีพืชมงคลเท่านั้น (พิธีเต็มรูปแบบว่างเว้นไปถึง 23 ปี) ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2503 จึงจัดให้มีราชพิธีจรดพระนาคัลแรกนาขวัญร่วมกับพิธีพืชมงคลนับแต่นั้นเป็นต้นมาจนถึงปัจจุบันนี้จึงจัดให้เป็นวันสำคัญของชาติ
 
=== รายละเอียดการประกอบพระราชพิธีพืชมงคล (วันที่หนึ่ง) โดยสังเขป ===
เป็น[[หมวดหมู่:พระราชพิธี|พระราชพิธี]]ทางสงฆ์โดยจะประกอบ[[หมวดหมู่:พระราชพิธี|พระราชพิธี]]ใน[[อุโบสถ|พระอุโบสถ]] [[วัดพระศรีรัตนศาสดาราม]] ใน[[พระบรมมหาราชวัง]] โดย [[พระมหากษัตริย์| พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]]และ [[สมเด็จพระราชินี|สมเด็จพระนางเจ้า พระบรมราชินีนาถ]] เสด็จพระราชดำเนินไปยัง[[วัดพระศรีรัตนศาสดาราม]] เสด็จพระราชดำเนินขึ้นสู่[[อุโบสถ|พระอุโบสถ]] ทรงจุด [[ธูป]] [[เทียน]] ถวายนมัสการ[[พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร]]และ[[พระพุทธรูป]]ที่สำคัญ [[พระราชาคณะ]]ถวาย[[ศีล]]จบแล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว[[ทรงพระสุหร่าย]] ถวายดอกไม้บูชา พระคันธาราษฎร์ ทรงอธิษฐาน]เพื่อความสมบูรณ์แห่งพืชผลของประเทศไทย แล้ว[[พระราชครูวามเทพมุนี|พระมหาราชครู]] [[พราหมณ์|ประธานคณะพราหมณ์]] อ่านประกาศพระราชพิธีพืชมงคล [[พระสงฆ์ ]] ๑๑ รูป เจริญพระพุทธมนต์จบแล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]]ทรงหลั่ง[[สังข์รดน้ำ|น้ำสังข์]] พระราชทาน[[มะตูม|ใบมะตูม]] ทรงเจิม พระราชทาน[[แหวน|ธำมรงค์]] กับ[[ปฎัก|พระแสงปฎัก]] สำหรับตำแหน่งพระยาแรกนาแก่ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ แล้วทรงหลั่งน้ำสังข์ พระราชทานใบมะตูม ทรงเจิมแก่เทพีผู้ที่จะเข้าในการพระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ ขณะนั้นพระสงฆ์เจริญชัยมงคลคาถา พนักงานประโคมฆ้องชัย เครื่องดุริยางค์ หลังจากนั้นทรงประเคนจตุปัจจัยไทยธรรม พระสงฆ์ถวาย[[อนุโมทนา]] ถวายอดิเรก ออกจากพระอุโบสถเสด็จพระราชดำเนินกลับ
[[พระราชาคณะ]]ถวาย[[ศีล]]จบแล้ว [[พระมหากษัตริย์| พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]][[ทรงพระสุหร่าย]]ถวายดอกไม้บูชา พระคันธาราษฎร์ ทรง[[อธิษฐาน]]เพื่อความสมบูรณ์แห่งพืชผลของ[[ประเทศไทย|ราชอาณาจักรไทย]] แล้ว[[พระราชครูวามเทพมุนี|พระมหาราชครู]][[พราหมณ์|ประธานคณะพราหมณ์]] อ่านประกาศพระราชพิธีพืชมงคล
[[พระสงฆ์ ]]๑๑ รูป เจริญพระพุทธมนต์จบแล้ว [[พระมหากษัตริย์| พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]]ทรงหลั่ง[[สังข์รดน้ำ|น้ำสังข์]] พระราชทาน[[มะตูม|ใบมะตูม]] ทรงเจิม พระราชทาน[[แหวน|ธำมรงค์]] กับ[[ปฎัก|พระแสงปฎัก]] สำหรับตำแหน่งพระยาแรกนาแก่ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ แล้วทรงหลั่ง[[สังข์รดน้ำ|น้ำสังข์]] พระราชทาน[[มะตูม|ใบมะตูม]] ทรงเจิมแก่เทพีผู้ที่จะเข้าในการพระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ ขณะนั้น[[พระสงฆ์]]เจริญชัยมงคลคาถา พนักงานประโคมฆ้องชัย เครื่องดุริยางค์ หลังจากนั้นทรงประเคนจตุปัจจัยไทยธรรม [[พระสงฆ์]]ถวาย[[อนุโมทนา]] ถวายอดิเรก ออกจาก[[อุโบสถ|พระอุโบสถ]]เสด็จพระราชดำเนินกลับ
 
=== รายละเอียดการประกอบพระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ (วันที่สอง) โดยสังเขป ===
[[ไฟล์:Thai Royal Ploughing Ceremony 2009 - royal oxen 1.jpg|thumbnail|พระโคแรกนาขวัญ]]
เป็นงาน[[หมวดหมู่:พระราชพิธี|พระราชพิธี]]ที่กระทำในตอนเช้าของรุ่งขึ้นอีกวันหนึ่ง ณ บริเวณมณฑลพิธี[[ท้องสนามหลวง]] โดยจะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ซึ่งทำหน้าที่พระยาแรกนาพร้อมด้วยเทพีขึ้นรถยนต์หลวงที่หน้า[[วัดพระศรีรัตนศาสดาราม]] ออกจาก[[พระบรมมหาราชวัง]]ทาง[[ประตูพระบรมมหาราชวัง|ประตูสวัสดิโสภา]] [[ถนนสนามไชย]]ไปยังมณฑลพิธี[[ท้องสนามหลวง]] เมื่อเดินทางมาถึงจะได้ตั้งกระบวนแห่อิสริยยศ แล้วเดินกระบวนแห่อิสริยยศไปส่งที่โรงพิธีพราหมณ์ พระยาแรกนาจุดธูปเทียนถวายสักการะเทวรูปสำคัญในโรงพิธีพรามณ์อันได้ [[เทวรูป]] [[พระศิวะ|พระอิศวร]] [[พระแม่ปารวตี|พระอุมาภควดี]] [[พระพรหม]] [[พระพิฆเนศ]] [[พระวิษณุ|พระนารายณ์]] [[พระลักษมี]] [[พระแม่มเหศวรี|พระมเหศวรี]] และ[[พระพลราม|พระพลเทพ]] แล้วจะได้ตั้ง[[อธิษฐาน|สัตยาธิษฐาน]] หยิบผ้านุ่งแต่งกาย ไว้พร้อม เมื่อพระยาแรกนาตั้ง[[อธิษฐาน|สัตยาธิษฐาน]]หยิบได้ผ้านุ่งผืนนั้นทับผ้านุ่งเดิมอีกชั้นหนึ่ง นุ่งอย่างบ่าวขุนเตรียมออกแรกนา
 
พระยาแรกนาขึ้นรถยนต์หลวงออกจากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ไปยังพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม เทพีและข้าราชการ (แต่งเครื่องแบบเต็มยศประดับราชอิสริยาภรณ์) เชิญเครื่องยศขึ้นรถตามเป็นกระบวน เมื่อเข้าสู่พระอุโบสถแล้วพระยาแรกนาและเทพีจุดธูปเทียนถวายนมัสการบูชาพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร แล้วไปที่ปราสาทพระเทพบิดรถวายสักการะพระบรมรูปสมเด็จพระมหากษัตริยาธิราช แล้วไปขึ้นรถยนต์หลวง เป็นกระบวนออกจากจัดพระศรีรัตนศาสดารามไปยังท้องสนามหลวง
 
เวลา ๗ นาฬิกา เจ้าพนักงานจัดตั้งริ้วกระบวนอิสริยยศตามประเพณีโบราณรับพระยาแรกนา พระยาแรกนาลงจากรถยนต์หลวงแล้วสวมลอมพอกเดินเข้าประจำที่ในกระบวนพร้อมด้วยคู่เคียง ๒ ข้าง ๆ ละ ๘ นาย ผู้เชิญเครื่องยศและเทพีจัดเป็นรูปกระบวนยาตราไปยังโรงพิธีพราหมณ์ ประโคมกลองชนะ สังข์ แตร ตลอดทาง
 
ครั้นเวลาประมาณ ๐๘.๓๐ น. [[พระมหากษัตริย์|พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]] และ [[สมเด็จพระราชินี|สมเด็จพระนางเจ้า พระบรมราชินีนาถ]] เสด็จพระราชดำเนินโดย[[รถยนต์]]พระที่นั่งจาก[[พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน]] ไปยัง[[พลับพลา]]ที่ประทับบริเวณมณฑลพิธี[[ท้องสนามหลวง]] เพื่อเป็นองค์ประธานในงานพระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ
 
เมื่อถึงฤกษ์พิธีไถหว่าน ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ซึ่งทำหน้าที่พระยาแรกนา จะได้ยาตราพร้อมเทพีออกจากโรงพิธีพราหมณ์ มีราชบัณฑิตและ[[พราหมณ์]]นำผ่าน[[พลับพลา]]หน้าพระที่นั่ง พระยาแรกนาเข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทถวายบังคม แล้วไปยังลานแรกนา เจ้าพนักงาน จูงพระโคเทียมแอก พระยาแรกนาเจิมพระโคและคันไถ จับหางไถแล้วไถดะไปโดย [[ทักษิณาวรรต]] ๓ รอบ ไถแปร ๓ รอบ พร้อมหว่านเมล็ดพันธุ์ข้าวพนักงานประโคมฆ้องชัยเครื่องดุริยางค์ แล้วไถกลบอีก ๓ รอบ เพื่อกลบเมล็ดพันธุ์ข้าวลงในดิน เสร็จแล้วพนักงานปลด[[วัว|พระโค]]ออกจากแอก พระยาแรกนาและเทพีกลับไปยังโรงพิธีพราหมณ์
 
[[ไฟล์:Thai Royal Ploughing Ceremony 2009 - 3.jpg|thumbnail|350250px|การประกอบพิธีไถหว่านในงานพระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ]]
 
[[พราหมณ์]]เสี่ยงทายของกิน ๗ สิ่ง ตั้งเลี้ยง[[วัว|พระโค]] เมื่อ[[วัว|พระโค]]กินของสิ่งใด โหรหลวงจะได้ถวาย[[การทำนาย|คำพยากรณ์]] เสร็จแล้วจะได้ เบิก[[เกษตรกร]]ดีเด่นแห่งชาติ ตัวแทน[[กลุ่มเกษตรกร|สถาบันเกษตรกร]] ดีเด่นแห่งชาติ ตัวแทนสหกรณ์ดีเด่นแห่งชาติ และปราชญ์เกษตรของแผ่นดินสาขาต่าง ๆ เข้ารับพระราชทานโล่เกียรติคุณ หลังจากนั้นจะได้แห่พระยาแรกนาเป็นกระบวนอิสริยยศออกจากโรงพิธีพราหมณ์ พระยาแรกนากราบถวายบังคม แล้วเข้ากระบวนไปขึ้นรถยนต์หลวงพร้อมด้วยเทพีไปรอเข้าเฝ้าฯ [[พระมหากษัตริย์|พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]] และ [[สมเด็จพระราชินี|สมเด็จพระนางเจ้า พระบรมราชินีนาถ]] ที่แปลงนาทดลองใน [[โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา]]
 
[[พระมหากษัตริย์|พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]] และ [[สมเด็จพระราชินี|สมเด็จพระนางเจ้า พระบรมราชินีนาถ]] เสด็จพระราชดำเนินโดย [[รถยนต์]]พระที่นั่งออกจาก[[พลับพลา]]พิธีไปยังแปลงนาทดลองใน[[โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา]] พระยาแรกนาได้เข้ากราบถวายบังคม พระยาแรกนาและเทพีนำเมล็ดพันธุ์ข้าวไปหว่านในแปลงนาทดลองใน[[โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา]] เพื่อปลูกไว้ใช้ใน พระราชพิธีฯ พิธีในปีต่อไป เมื่อพระยาแรกนาหว่านข้าวเสร็จแล้ว เข้าไปกราบถวายบังคม[[พระมหากษัตริย์|พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]]และ [[สมเด็จพระราชินี|สมเด็จพระนางเจ้า พระบรมราชินีนาถ]] เป็นอันเสร็จ พระราชพิธี.
 
=== กำหนดวันพืชมงคล ===
[[ไฟล์:Thai Royal Ploughing Ceremony 2009 - rice finding 5.jpg|thumb|250px|หลังสิ้นสุดพระราชพิธีฯ ประชาชนจะเก็บเมล็ดพันธุ์ข้าวที่พระยาแรกนาหว่านในพระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญหลังสิ้นสุดพระราชพิธีไว้ (พ.ศ. 2552)]]
* พ.ศ. 2552 ตรงกับ จันทร์ที่ 11 พฤษภาคม (แรม 3 ค่ำเดือน 6)
* พ.ศ. 2553 ตรงกับ พฤหัสบดีที่ 13 พฤษภาคม (แรม 15 ค่ำเดือน 6)
เส้น 84 ⟶ 81:
* พ.ศ. 2560 ตรงกับ ศุกร์ที่ 12 พฤษภาคม (แรม 2 ค่ำเดือน 6)<ref>สำนักพระราชวัง. (การสอบถามทางโทรศัพท์) 23 ธันวาคม 2559</ref>
* พ.ศ. 2561 ตรงกับ จันทร์ที่ 14 พฤษภาคม (แรม 15 ค่ำเดือน 6)<ref>[https://mgronline.com/qol/detail/9600000115567 ศน.แจ้งวันหยุดราชการปี 61 ของสำนักพระราชวัง]</ref>
 
==ประเทศกัมพูชา==
[[ไฟล์:Epa02139843-cambodian-prince-sisowath-weacheravudh-c-plows-during-fnkj4k.jpg|thumb|right|300250px|พระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญในพระราชอาณาจักร[[ประเทศกัมพูชา]]]]
ในพระราชอาณาจักร[[ประเทศกัมพูชา]] ประวัติความเป็นมาตามพงสาวดารพงศาวดาร นักโบราณคดีได้ระบุว่า พระราชพิธีจรดพระนังคัลนั้น ได้ถูกพระราชากัมพูชาประกอบเป็นพิธีจนเป็นประเพณี อย่างน้อยก็ตั้งแต่สมัย[[อาณาจักรเจนละ]] (ศตวรรษที่ ๖ ถึงศตวรรษที่ ๙) โดยพวกเขาได้ค้นพบรูปปั้นหลายรูปที่แสดงถึงสถานะของพระราชพิธีจรดพระนังคัลในสมัยนั้น
 
ในปัจจุบันพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญเป็นพระราชพิธีอย่างหนึ่งในพระราชพิธีทวาทศมาส (พระราชพิธีบุญที่ทำขึ้นหนึ่งครั้งในหนึ่งเดือน ตามพระราชประเพณี) ตามธรรมดาแล้ว พระราชพิธีนี้จะจัดขึ้นในเดือนห้า (พฤษภาคม) ซึ่งเป็นช่วงต้นฤดูกาลการเก็บเกี่ยวผลผลิตทางการเกษตร โดยทั่วไปจะจัดขึ้นบนลานพระเมรุ อยู่ทางทิศเหนือของ[[พระบรมราชวังจตุมุขสิริมงคล]] หรือ พระท้องนาที่ใดที่หนึ่ง ในบางปีจะจัดขึ้นใน[[จังหวัดเสียมราฐ]]
 
===การประกอบพิธี===
พระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญส่วนใหญ่จะจัดขึ้นในวันแรม ๑ ค่ำ ๒ ค่ำ และ ๓ ค่ำ เดือน ๕ โดยจะจัดให้มีพราหมณ์ ๕ คน ประกอบพิธีบูชาเทวดา ๕ องค์ ณ พระท้องนา ในบางครั้ง พระราชาจะเสด็จไปจรดพระนังคัลด้วยพระองค์เอง แต่บางครั้งจะมอบหมายผู้แทนองค์เป็นผู้จรดพระนังคัล ในวันแรม ๔ ค่ำ เดือน ๕ จะมีการแห่คณะองคมนตรี ผู้จรดพระนังคัลซึ่งเป็นตัวแทนพระราชาจะเรียกว่า สะดัจเมียก (พระยาแรกนาขวัญ) และ ภริยาพระเมฮัว (เทพี) ตัวแทนพระอัครมเหสี ออกจากพระราชวังไปยังพระท้องนา โดยที่นั่น จะมีวัว ๓ ตัวยืนรอเป็นที่เรียบร้อยสำหรับประกอบพิธีจรดพระนังคัล ผู้ที่เข้าร่วมพิธีทั้งหญิงทั้งชาย จะแต่งกายในแบบกัมพูชาดั้งเดิม
 
วัวตัวที่ ๑ สำหรับประกอบพิธีจรดพระนังคัล เรียกว่า พระโค หรือ โคพฤษภราช (วัวตัวผู้ของพระราชา) ตามพระราชประเพณี พระเคา หรือ โคพฤษภราช นั้น มีการกำหนดลักษณะที่ชัดเจน กล่าวคือ ตัวสีดำ เขาโค้งงอไปข้างหน้า แล้วปลายแหลมชี้ไปข้างบนเล็กน้อย
 
วัวตัวที่ ๒ ที่ใช้แห่ข้างหน้าและแห่ข้างหลังนั้น ยังไม่มีการกำหนดลักษณะที่ชัดเจน อย่างไรก็ดี ตามครั้งก่อนๆ ที่เคยทำกันมา จะเห็นว่าส่วนใหญ่จะเป็นวัวสีแดง ส่วนพระนังคัลทั้งสามนั้น จะทาเป็นสีดำ มีเส้นสีแดงตัดในแนวนอนเป็นช่วงๆ ส่วนของพระนังคัลสำหรับตัวแทนของพระราชานั้น จะมีลักษณะพิเศษกว่าใคร คือจะมีรูปทรงเป็นพยานาคพญานาค ทาสีสอง ที่คอของพยาพญานาคจะมีภู่ติดอยู่ที่พู่ทำจากขนสัตว์ติดอยู่
 
จุดประสงค์อันสำคัญที่สุดของพระราชพิธีจรดพระนังคัลนั้น จัดขึ้นเพื่อเป็นการพยากรณ์ หรือ เสี่ยงทายผลผลิตเกษตรกรรม และเหตุที่จะเกิดขึ้นภายในหนึ่งปีเต็ม ตามการกระทำของพระโคในพระราชพิธีดังกล่าว พระราชาหรือพระแรกนาขวัญที่เป็นตัวแทนพระมหากษัตริย์ เป็นผู้ไถบนลานพระเมรุ ส่วนพระมเหสีหรือเทพี จะเป็นผู้หว่านเมล็ดตามข้างหลัง ลานพระเมรุจะถูกไถ ๓ รอบในพระราชพิธีดังกล่าว
 
ในบริเวณลานพระท้องนา หรือ ลานพระเมรุนั้น จะมีเต็นท์ดูสวยงามอยู่ และหน้าเต็นท์นั้น จะมีโต๊ะอยู่ ๗ ตัว แล้วบนโต๊ะแต่ละตัว จะมีของวางของอยู่ คือ ข้าวสาร ๑ โต๊ะ ถั่ว ๑ โต๊ะ เม็ดข้าวโพด ๑ โต๊ะ เม็ดงา ๑ โต๊ะ หญ้าสด ๑ โต๊ะ น้ำ ๑ โต๊ะ และ เหล้า ๑ โต๊ะ
 
ในพระราชพิธีนี้ หลังจากที่ได้ไถตามขั้นตอนเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ต่อไปจะเป็นพิธีเสี่ยงทายด้วยวัวพฤษภราช พิธีเสี่ยงทายด้วยโคพฤษภราชนี้ พราหมณ์ซึ่งเป็นพระราชครูที่ยืนข้างๆ พระนังคัลจะท่องคาถาเสี่ยงทายและให้โคบริโภคอาหาร ๗ ชนิดที่ได้กล่าวไป เมื่อพระโคบริโภคสิ่งใดสิ่งหนึ่ง พราหมณ์จะพยากรณ์เหตุการณ์ หรือ ทำนายทายทักเกี่ยวกับเหตุการณ์ต่างๆที่จะเกิดขึ้นใน ๑ ปีเต็มๆ เช่น โรคระบาด น้ำท่วม ผลผลิตดี และมีฝนตกหนักหรือน้อย เป็นต้น
 
ในพระราชพิธีนี้ หลังจากที่ได้ไถตามขั้นตอนเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ต่อไปจะเป็นพิธีเสี่ยงทายด้วยวัวพฤษภราช พิธีเสี่ยงทายด้วยโคพฤษภราชนี้ พราหมณ์ซึ่งเป็นพระราชครูที่ยืนข้างๆ พระนังคัลจะท่องคาถาเสี่ยงทายและให้โคบริโภคอาหาร ๗ ชนิดที่ได้กล่าวไป เมื่อพระโคบริโภคสิ่งใดสิ่งหนึ่ง พราหมณ์จะพยากรณ์เหตุการณ์ หรือ ทำนายทายทักเกี่ยวกับเหตุการณ์ต่างๆที่จะเกิดขึ้นใน ๑ ปีเต็มๆ เช่น โรคระบาด น้ำท่วม ผลผลิตดี และมีฝนตกหนักหรือน้อย เป็นต้น
===การทำนาย===
ในการพยากรณ์ของกัมพูชานั้น หากพระโคเลือกเสวยข้าว ข้าวโพด (ពោត) ถั่ว (សណ្តែក) และงา (ល្ង) ซึ่งเป็นตัวแทนของการเก็บเกี่ยวและผลผลิต ยิ่งพระโคเสวยมากก็พยากรณ์ได้ว่าการเก็บเกี่ยวและผลผลิตจะยิ่งดีมาก หากพระโคเสวยหญ้า (ស្មៅ) พยากรณ์ถึงความเจ็บป่วย เกิดโรคระบาด หากเสวยน้ำ (ទឹក) พยากรณ์ถึงเหตุน้ำท่วม และหากเสวยเหล้า (ស្រា) พยากรณ์ว่ามีลางของสงครามหรืออาจเกิดอาชญากรความไม่สงบ
 
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Royal Ploughing Ceremony|พืชมงคลแรกนาขวัญ}}
 
; ข้อมูลทั้งหมด
บรรทัด 124:
* [http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1305199378&grpid=no&catid=02 จรดนังคัล, แรกนา เขมรปนลาว กลายเป็นไทย] - [[สุจิตต์ วงษ์เทศ]]
 
[[หมวดหมู่:วันสำคัญของไทย|พืชมงคลแรกนาขวัญ]]
[[หมวดหมู่:พิธีกรรมในศาสนาฮินดู]]
[[หมวดหมู่:ประเพณีไทย]]