ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทรูมูฟ เอช"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ล้าสมัย}}
{{กล่องข้อมูล บริษัท
|company_name = บริษัท เรียลมูฟ จำกัด<br>บริษัท ทรู มูฟทรูมูฟ เอช ยูนิเวอร์แซล คอมมิวนิเคชั่น จำกัด
|company_logo = TrueMove 2009Logo.png
|company_type = [[บริษัทจำกัด]]
บรรทัด 15:
}}
 
'''ทรู มูฟทรูมูฟ เอช''' ({{lang-en|True MoveTrueMove H}}) หรือ '''บริษัท เรียลมูฟ จำกัด''' (Real Move Co., Ltd) และ '''บริษัท ทรู มูฟทรูมูฟ เอช ยูนิเวอร์แซล คอมมิวนิเคชั่น จำกัด''' (True MoveTrueMove H Universal Communication Co., Ltd) เป็นบริษัทในเครือของ [[ทรู คอร์ปอเรชั่น|บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน)]] ที่ทำธุรกิจให้บริการโทรศัพท์มือถือรายหนึ่งในประเทศไทย โดยเป็นตัวแทนขายส่งต่อบริการของ [[กสท. โทรคมนาคม]] เดิมคือเครือข่ายฮัทซ์ ของบริษัท ฮัทจิสัน ซีเอที ไวร์เลส มัลติมีเดีย จำกัด ที่ถูกกลุ่มทรู คอร์ปอเรชั่น เข้าซื้อกิจการโดยผ่านความเห็นชอบจากกสท. โทรคมนาคม<ref>[http://www.bangkokbiznews.com/home/detail/it/it/20110105/370299/%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B8%8B%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%AE%E0%B8%B1%E0%B8%97%E0%B8%8A%E0%B9%8C%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%A5%E0%B8%AE%E0%B8%AD%E0%B8%956,300%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%9B%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%97%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%9B%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%B7%E0%B8%AD.html ทรูซื้อฮัทช์ดีลฮอต6,300ล้านปิดท้ายปีเสือ]</ref> และได้รับอนุญาตในการดำเนินการโครงข่ายโทรศัพท์มือถือระยะที่ 3 '''(3G)''' บนเครือข่ายดับเบิลยูซีดีเอ็มเอ 850 เมกกะเฮิตซ์ บนช่วงความถี่ 15 เมกกะเฮิตซ์ ที่ถือว่ามากที่สุดในกลุ่มผู้ให้บริการในปัจจุบัน (รวมทรูมูฟ) และยังได้รับใบอนุญาตในการดำเนินการโครงข่ายโทรศัพท์มือถือบนเครือข่ายดับเบิลยูซีดีเอ็มเอ 2100 เมกกะเฮิตซ์ บนช่วงความถี่ 15 เมกกะเฮิตซ์ จาก กสทช. เพื่อมาดำเนินการโครงข่ายโทรศัพท์มือถือระยะที่ 3 และโครงข่ายโทรศัพท์มือถือระยะที่ 4 '''(4G LTE)''' โดยเครือข่าย ทรูมูฟ-เอช กับ ทรูมูฟ ในทางธุรกิจโทรคมนาคมจะถือว่าเป็นคนละเครือข่ายกัน แต่ทั้งสองเครือข่ายมีวิธีดำเนินการเหมือนกันทุกประการ ปัจจุบัน เมื่ออิงตามยอดผู้ใช้งาน [[ทรูมูฟ เอช]] เป็นผู้ให้บริการโครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ อันดับที่ 2 ของประเทศ
 
== ผลิตภัณฑ์ และ บริการ ==
บรรทัด 35:
นอกจากนี้ทรูมูฟ เอช ยังมีโครงข่ายรหัส 520-04 ที่เป็นของเรียลฟิวเจอร์ สำหรับให้บริการโครงข่าย 3G คลื่นความถี่ 2100 เมกกะเฮิตซ์ และให้บริการโครงข่าย 4G LTE บนคลื่นความถี่ 2100 เมกกะเฮิตซ์เช่นกัน โดยทั้งสองระบบบนคลื่น 2100 เมกกะเฮิตซ์นี้ จะทำหน้านี้ในการดำเนินการต่างกันเล็กน้อย คือคลื่น 3G 2100 เมกกะเฮิตซ์ จะเอามาขยายสัญญาณ 3G ที่มีอยู่เดิมของ 520-00 ให้เข้มมากขึ้น และเพื่อให้รองรับอุปกรณ์ต่างๆ ได้เพิ่มมากขึ้น ส่วนคลื่น LTE 2100 เมกกะเฮิตซ์ จะเป็นการแบ่งคลื่นจาก 3G 2100 เมกกะเฮิตซ์บางส่วน เพื่อให้บริการในหัวเมืองหลัก ที่ต้องการความเร็วในการใช้งานค่อนข้างสูง และทั้ง 3 คลื่น จะโรมมิ่งสลับกันไปมา ตามแต่ละพื้นที่ที่ให้บริการได้
 
ทรูมูฟ- เอชเปิดให้บริการ 4G LTE เป็นรายแรกในประเทศไทย<ref>[http://hitech.sanook.com/1368686/%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%87%E0%B8%99%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%99-3g-%E0%B8%84%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%84%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%B8%E0%B8%A1%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%94/ เปิดประเด็นร้อน 3G ค่ายไหนครอบคลุมมากที่สุด]</ref><ref>[http://truemoveh.truecorp.co.th/truemoveh4g#pane07 บริการ 4G ของทรูมฟ เอช]</ref> โดยเริ่มให้ทดลองใช้ได้ เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2556 และเมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2556 ทรูมูฟ เอช ได้แถลงข่าวเปิดตัวสโลแกนใหม่ The Best 3G And The First 4G พร้อมเปิดตัวบริการ 4G LTE เชิงพาณิชย์เป็นรายแรก (โดยการแบ่งคลื่น 2100 MHz ที่ได้จากการประมูล 3G บางส่วน เป็นช่วงความถี่กว้าง 10 MHz) ให้บริการที่ความเร็วดาวน์โหลด 100 Mbps และอัปโหลด 50Mbps<ref>[http://news.siamphone.com/news-12208.html Truemove H รุดหน้าเปิดบริการ 4G LTE บนคลื่น 2100 MHz รายแรกในไทย]</ref><ref>[http://truemoveh.truecorp.co.th/truemoveh4g เว็บไซต์ทรูมูฟเอช 4G LTE]</ref> โดยในช่วงแรกจะเปิดให้บริการใจกลางกรุงเทพฯ ก่อนขยายออกไปครอบคลุมทั่วกรุงเทพฯ และปริมณฑล (นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ) รวมถึงอีก 13 หัวเมือง ประกอบไปด้วย [[จังหวัดขอนแก่น|ขอนแก่น]], [[จังหวัดเชียงใหม่|เชียงใหม่]], [[อำเภอชะอำ|ชะอำ]]-[[อำเภอหัวหิน|หัวหิน]], [[จังหวัดชลบุรี|ชลบุรี]], [[จังหวัดนครปฐม|นครปฐม]], [[จังหวัดนครราชสีมา|โคราช]], ([[อำเภอเมืองนครราชสีมา|อ.เมือง]] [[อำเภอปากช่อง|อ.ปากช่อง]]), [[จังหวัดนครศรีธรรมราช|นครศรีธรรมราช]], [[จังหวัดพิษณุโลก|พิษณุโลก]], [[จังหวัดภูเก็ต|ภูเก็ต]], [[จังหวัดสงขลา|สงขลา]] ([[อำเภอเมืองสงขลา|อ.เมือง]], อำเภอหาดใหญ่), [[จังหวัดสุราษฏร์ธานี|สุราษฏร์ธานี]] ([[อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี|อ.เมือง]], [[อำเภอเกาะสมุย|เกาะสมุย]]), [[จังหวัดอุบลราชธานี|อุบลราชธานี]] และ[[จังหวัดพระนครศรีอยุธยา|อยุธยา]] ภายในสิ้นปี 2556<ref>[http://truemoveh.truecorp.co.th/coverage4g พื้นที่ให้บริการ 4G LTE]</ref>
 
ต้นปี 2557 ทรูมุฟ เอช ขยายจุดบริการ 4G LTE ครอบคลุมใจกลางเมือง 14 จังหวัด พร้อมแหล่งท่องเที่ยวยอดนิยม และจุดเชื่อมต่อชายแดน<ref>[http://truemoveh.truecorp.co.th/truemoveh4g#pane07 พื้นที่ให้บริการ 4G LTE ของทรูมฟ เอช]</ref>
 
ส่วนเครือข่าย 3G ของทรูมูฟ- เอช บนความถี่ 850/2100 MHz ให้บริการครอบคลุมมากที่สุดในประเทศไทย<ref>[http://truemoveh.truecorp.co.th/coverage พื้นที่ให้บริการ 3G ของทรูมฟ เอช]</ref>
 
ทรูมูฟ เอช ยังมีบริการ WiFi เพื่อเสริมประสิทธิภาพการใช้งาน 3G ในบางจุด ด้วยความเร็วสูงสุด 200 Mbps* ผ่าน WiFi hotspots มากกว่า 100,000 จุดทั่วประเทศ<ref>[http://truemoveh.truecorp.co.th/wifi/entry/2365 Wi-Fi by TrueMove H]</ref>
บรรทัด 47:
วันที่ 18 มิถุนายน 2557 ทรูมูฟ เอช เปิดตัวแคมเปญ “เครือข่าย 3G ที่ 1 ของเรา ครอบคลุมที่ 1 ทั่วไทย”<ref>[http://www.truemove-h.com/truenumber1 เครือข่าย 3G ที่ 1 ครอบคลุมที่ 1 ทั่วไทย]</ref>
 
ทรูมูฟ เอช ได้ใช้ศิลปินนักร้องจากรายการ[[ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย]] และนักแสดงของไทยที่มีชื่อเสียงโด่งดังมาเป็นพรีเซ็นต์เตอร์ในภาพยนตร์โฆษณา อาทิ [[ณเดชน์ คูกิมิยะ]], [[อุรัสยา เสปอร์บันด์]], [[ปกรณ์ ฉัตรบริรักษ์]], [[ราศรี บาเลนซิเอก้า]], [[เจมส์ มาร์]] รวมไปถึงศิลปินชื่อดังจากต่างชาติ อาทิ [[เกิลส์เจเนอเรชัน]] และทีมปีศาจแดง [[สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด|แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด]] เป็นต้น
 
ตอนนี้ค่ายนี้ดูจะมีความสุขที่สุด เพราะมีคลื่นความถี่มารองรับหลังสัญญาสัมปทานที่จะหมดในปี 2556 สองย่าน คือ ที่ความถี่ 850 MHz ความกว้าง 15 MHz มีอายุถึงปี [[พ.ศ. 2568]] และความถี่ 2100 MHz ความกว้าง 15 MHz มีอายุถึงปี [[พ.ศ. 2570]] รวมแล้วมีถึง 30 MHz ในการให้บริการ 3G และล่าสุดความไม่แน่นอนในการทำสัญญา 3G รูปแบบใหม่กับ CAT มีความชัดเจนขึ้นเป็นลำดับว่าเป็นสัญญาที่ไม่เป็นโมฆะ เมื่อมีการปรับปรุงแก้ไขสัญญาบางข้อสามารถดำเนินธุรกิจต่อได้เลย ทำให้เป็นผู้ประกอบการเครือข่าย 3G ที่ได้เปรียบรายอื่นที่สุดในเวลานี้