ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลัทธิคอมมิวนิสต์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Applezapotis (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ +เก็บกวาดด้วยสจห.
บรรทัด 17:
บางช่วงในประวัติศาสตร์ยังปรากฏว่ามีสังคมคอมมิวนิสต์ขนาดเล็กอยู่อย่างหลากหลาย ซึ่งโดยทั่วไปมีแรงบันดาลใจมากจาก[[คัมภีร์]]ทางศาสนา<ref name="Lansford_pp24–25">{{harvnb|Lansford|2007|pp=24–25}}</ref> เช่น [[คริสตจักร]]ใน[[สมัยกลาง]]ที่ปรากฏว่ามี[[ชีวิตอารามวาสี|อารามวาสี]]และกลุ่มก้อนทางศาสนาบางแห่งร่วมแบ่งปันที่ดินและทรัพย์สินในหมู่สมาชิกด้วยกันเอง (ดูเพิ่มที่ [[:en:Religious communism|ลัทธิคอมมิวนิสต์ทางศาสนา]] และ[[:en:Christian communism|ลัทธิคอมมิวนิสต์คริสเตียน]])
 
แนวคิดคอมมิวนิสต์ยังสามารถสืบย้อนไปถึงชิ้นงานในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ของนักประพันธ์ชาวอังกฤษ [[ทอมัส มอร์]] ซึ่งตำราของเขานามว่า ''[[ยูโทเปีย (หนังสือ)|ยูโทเปีย]]'' (ค.ศ. 1516) ได้ฉายภาพสังคมที่มีพื้นฐานอยู่บนความเป็นเจ้าของร่วมกันในทรัพย์สิน และมีผู้ปกครองบริหารงานด้วยการใช้เหตุผล นอกจากนี้ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 ได้มีแนวคิดคอมมิวนิสต์ปรากฏขึ้นมาอีกครั้งในอังกฤษโดย[[พิวริตัน|กลุ่มพิวริตัน]][[นิกาย|ทางศาสนา]]นามว่า "ดิกเกอร์ส" (Diggers) ที่สนับสนุนให้ยกเลิกสิทธิครอบครองที่ดินส่วนบุคคลไป<ref name="diggers">{{cite web|url=http://www.rogerlovejoy.co.uk/philosophy/diggers/diggers3.htm |title=Diggers' Manifesto |accessdate=2011-07-19 |archiveurl=http://www.webcitation.org/60XT6NLIO?url=http://www.rogerlovejoy.co.uk/philosophy/diggers/diggers3.htm |archivedate=2011-07-29 |deadurl=no |df= }}</ref> ด้านนักทฤษฎีสังคมนิยม-ประชาธิปไตยชาวเยอรมัน เอดูอาร์ด แบร์นสไตน์ กล่าวในผลงานปี ค.ศ. 1895 ''ครอมเวลล์กับลัทธิคอมมิวนิสต์'' (Cromwell and Communism) {{sfn|Bernstein|1895}} ของเขาว่าในช่วง[[สงครามกลางเมืองอังกฤษ]]มีกลุ่มหลายกลุ่มโดยเฉพาะพวกดิกเกอร์สที่สนับสนุนอุดมการณ์คอมมิวนิสต์เกี่ยวกับที่ดินอย่างชัดเจน แต่ทัศนคติของ[[โอลิเวอร์ ครอมเวลล์]]ที่มีต่อกลุ่มคนเหล่านี้กลับถือว่าต่อต้านและไปในทิศทางตรงกันข้ามอย่างมากที่สุด{{sfn|Bernstein|1895}} ทั้งนี้การวิพากษ์วิจารณ์สิทธิครอบครองทรัพย์สินส่วนบุคคลยังคงดำเนินเรื่อยไปจนถึง[[ยุคเรืองปัญญา]]ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 ผ่านนักคิดอย่าง [[ฌ็อง-ฌัก รูโซ]]ใน[[ราชอาณาจักรฝรั่งเศส|ฝรั่งเศส]] และต่อมาในช่วงที่วุ่นวายที่สุดของ[[การปฏิวัติฝรั่งเศส]] ลัทธิคอมมิวนิสต์ก็ถือกำเนิดขึ้นในรูปแบบของลัทธิทางการเมือง<ref>"Communism" ''A Dictionary of Sociology''. John Scott and [[:en:Gordon Marshall (sociologist)|Gordon Marshall]]. Oxford University Press 2005. Oxford Reference Online. Oxford University Press.</ref>
 
ในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 นักปฏิรูปสังคมหลายคนได้ร่วมกันก่อตั้งชุมชนที่มีพื้นฐานอยู่บนความเป็นเจ้าของร่วมกัน แต่ไม่เหมือนกับสังคมคอมมิวนิสต์ยุคก่อน ๆ ตรงที่พวกเขาแทนที่การมุ่งเน้นไปในทางศาสนาด้วยรากฐานการใช้ตรรกะเหตุผลและการกุศลเป็นหลัก<ref name="britannica">"Communism." ''Encyclopædia Britannica''. 2006. [[สารานุกรมบริตานิกา|Encyclopædia Britannica]] Online.</ref> โดยหนึ่งในผู้มีชื่อเสียงในกลุ่มนี้คือ [[โรเบิร์ต โอเวน]] ผู้ก่อตั้งชมรมสหกรณ์ ''นิวฮาร์โมนี'' ใน[[รัฐอินดีแอนา]] ในปี ค.ศ. 1825 และชาลส์ โฟเรียร์ ที่ผู้ติดตามของเขาก็ได้จัดตั้งชุมชนในบริเวณอื่น ๆ ของ[[สหรัฐอเมริกา]] เช่น ฟาร์มบรุก (Brook Farm; ค.ศ. 1841 – 1847) ด้วยเช่นกัน<ref name="britannica"/> ซึ่งต่อมาในภายหลัง คาร์ล มากซ์ อธิบายนักปฏิรูปสังคมเหล่านี้ว่าเป็นพวก "นักสังคมนิยมแบบอุดมคติ" (utopian socialists) เพื่อให้ตรงกันข้ามกับ "ลัทธิสังคมนิยมแบบวิทยาศาสตร์" (scientific socialism) ของเขา (ซึ่งเป็นชื่อที่[[ฟรีดริช เองเงิลส์]] เห็นพ้องด้วย) นอกจากนี้มากซ์ยังเรียก อ็องรี เดอ แซ็ง-ซีมง ว่าเป็น "นักสังคมนิยมแบบอุดมคติ" ด้วยเช่นกัน
บรรทัด 48:
{|width=100%
|-
| valign = top |
{{legend|#400082|> 5,000 [[มาร์กเยอรมัน|มาร์ก]]}}
{{legend|#00BFFF|2,500 – 5,000 [[มาร์กเยอรมัน|มาร์ก]]}}
{{legend|#3CB371|1,000 – 2,500 [[มาร์กเยอรมัน|มาร์ก]]}}
| valign = top |
{{legend|#9ACD32|500 – 1,000 [[มาร์กเยอรมัน|มาร์ก]]}}
{{legend|#FFFF00|250 – 500 [[มาร์กเยอรมัน|มาร์ก]]}}