ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การยาสูบแห่งประเทศไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mda (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 31:
| งบประมาณ =
| หัวหน้า1_ชื่อ = ดาวน้อย สุทธินิภาพันธ์
| หัวหน้า1_ตำแหน่ง = ผู้อำนวยว่าการยาสูบ
| หัวหน้า2_ชื่อ = สมหมาย ลำเจียกเทศ
| หัวหน้า2_ตำแหน่ง = รองผู้อำนวยว่าการ
| หัวหน้า3_ชื่อ = นพดล หาญธนสาร
| หัวหน้า3_ตำแหน่ง = รองผู้อำนวยว่าการ
| หัวหน้า4_ชื่อ = วิญญู เกียรติวัฒน์
| หัวหน้า4_ตำแหน่ง = รองผู้อำนวยว่าการ
| หัวหน้า5_ชื่อ = ชำนาญ อ่ำสะอาด
| หัวหน้า5_ตำแหน่ง = รองผู้อำนวยว่าการ
| หัวหน้า6_ชื่อ = อลงกรณ์ เจริญภักดี
| หัวหน้า6_ตำแหน่ง = รองผู้อำนวยว่าการ
| หัวหน้า7_ชื่อ =
| หัวหน้า7_ตำแหน่ง =
บรรทัด 75:
}}
 
'''การยาสูบแห่งประเทศไทย''' ({{Lang-en|Tobacco Authority of Thailand}};ชื่อย่อ: ยสnยสท., TOAT) เป็นหน่วยงาน[[รัฐวิสาหกิจ]]ในประเทศไทย ภายใต้การกำกับดูแลของ[[กระทรวงการคลัง (ประเทศไทย)|กระทรวงการคลัง]] ทำหน้าที่ประกอบธุรกิจผลิตและจัดจำหน่าย[[บุหรี่]]สำเร็จรูป ปัจจุบันผลิตบุหรี่ทั้งสิ้น 18 ตรา และเป็นรัฐวิสาหกิจที่มีรายได้นำส่งเป็นรายได้ของรัฐสูงเป็นลำดับที่ 6 ของ[[รัฐวิสาหกิจไทย]] มูลค่ากว่า 8,927.00 ล้านบาท (พ.ศ. 2557) จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 โดยการยกฐานะ ''โรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง'' ({{Lang-en|Thailand Tobacco Monopoly}};ชื่อย่อ: รยส., TTM) ขึ้นเป็นนิติบุคคล ตามพระราชบัญญัติการยาสูบแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2561<ref> [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2561/A/033/27.PDF การยาสูบแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2561] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 135 ตอนที่ 33ก วันที่ 13 พฤษภาคม 2561</ref>
 
== ประวัติ ==
บรรทัด 82:
กิจการดำเนินมาจนกระทั่งในช่วง[[สงครามมหาเอเชียบูรพา]] เกิดการกักตุนบุหรี่ และเหตุการณ์ทหารญี่ปุ่นเข้ายึดโรงงานผลิตบุหรี่ย่าน[[ถนนเจริญกรุง]] ในช่วงปลายปี พ.ศ. 2484 ทำให้กิจการของโรงงานยาสูบต้องหยุดดำเนินการในชั่วระยะหนึ่ง
 
ในปี พ.ศ. 2485 ได้มีประกาศพระราชกฤษฎีกาจัดวางระเบียบราชการกรมโรงงานอุตสาหกรรมในกระทรวงอุตสาหกรรม พ.ศ. 2485 เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2485<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2485/A/037/1186.PDF พระราชกฤษฎีกาจัดวางระเบียบราชการกรมโรงงานอุตสาหกรรมในกระทรวงอุตสาหกรรม พ.ศ. ๒๔๘๕]ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 59 ตอนที่ 37 วันที่ 2 มิถุนายน 2485</ref> ให้โอนกิจการโรงงานยาสูบ กรมสรรพสามิต กระทรวงการคลัง ไปสังกัด[[กรมโรงงานอุตสาหกรรม]] [[กระทรวงอุตสาหกรรม]] จนในปี พ.ศ. 2486 จึงโอนมาสังกัดกรมสรรพสามิตเช่นเดิม และได้มีประกาศพระราชบัญญัติยาสูบ พ.ศ. 2485 ให้การประกอบกิจการอุตสาหกรรมซิกาแรต เป็นอุตสาหกรรมผูกขาดของรัฐ แต่ในขณะเดียวกันโรงงานก็ประสบปัญหาขาดแคลนวัตถุดิบเป็นอย่างมาก จนถึงในปี พ.ศ. 2488 จึงต้องปิดโรงงานที่สะพานเหลือง และที่ถนนวิทยุ
 
ในปี พ.ศ. 2491 จึงได้เปิดดำเนินการโรงงานที่สะพานเหลืองอีกครั้งหนึ่ง และได้ดำเนินกิจการก้าวหน้าเป็นลำดับ จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2497 จึงได้โอนจากสังกัดกรมสรรพสามิต มาสังกัดกระทรวงการคลังโดยตรง<ref>[http://www.thaitobacco.or.th/thai/?page_id=6677 ประวัติโรงงานยาสูบ]</ref>