ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
วรุตม์ ปลื้มใจ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 117:
ในช่วงเวลาเดียวกัน สมาชิก[[สภานิติบัญญัติแห่งชาติ]] กว่า 30 คน นำโดยนาย[[ไพศาล พืชมงคล]] ได้เตรียมยื่นหนังสือเสนอร่าง พ.ร.บ.คณะสงฆ์ เพื่อให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติพิจารณาและตราเป็น[[พระราชบัญญัติ]] โดยเสนอให้ นับอาวุโสของสมเด็จและพระราชาคณะโดยพรรษา (แทนการนับอาวุโสตามสมณศักดิ์แต่เดิม) ซึ่งจะทำให้พระราชาคณะที่มีอาวุโสสูงสุดเป็นพระฝ่าย[[ธรรมยุตินิกาย]]<ref>คม-ชัด-ลึก, [http://www.bpct.org/index.php?option=com_content&task=view&id=362&Itemid=0 ยึดพรรษา-ชงปลดสมเด็จกี่ยว], 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549</ref><ref>คม-ชัด-ลึก, [http://www.bpct.org/index.php?option=com_content&task=view&id=364&Itemid=0 สมเด็จวัดชนะฯไม่รู้จะปลดสมเด็จเกี่ยว ชี้เอาจริงไม่ต้องผ่านมส.], 7 พฤศจิกายนพ.ศ. 2549</ref> พ.ร.บ. คณะสงฆ์ ฉบับแก้ไข พ.ศ. 2535 (ซึ่งเป็นฉบับที่ใช้อยู่ในเวลานั้น) กำหนดไว้ว่า ผู้ที่จะได้รับโปรดเกล้าฯ เป็นสมเด็จพระสังฆราช ต้องมีอาวุโสทางสมณศักดิ์สูงที่สุด โดยดูจากการที่พระสงฆ์รูปนั้น ได้รับโปรดเกล้า ฯ เป็นสมเด็จพระราชาคณะ ชั้นสุพรรณบัฏ (คือมีการจารึกชื่อและราชทินนามลงบนแผ่นทองคำแท้) ก่อนพระสงฆ์รูปอื่น ๆ<ref name="NationPostCoup" /> ในเวลาเดียวกัน ได้มีผู้เรียกร้องให้รัฐบาลทหารเสนอร่างกฎหมายแก้ไข พ.ร.บ.คณะสงฆ์ เข้าสู่สภานิติบัญญัติแห่งชาติ โดยเปลี่ยนให้ พระราชอำนาจในการสถาปนาสมเด็จพระสังฆราช เป็น[[ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์|พระราชอำนาจโดยสมบูรณ์ของพระมหากษัตริย์]] โดยไม่มีข้อจำกัด ในเรื่องของความอาวุโสทางพรรษาหรือสมณศักดิ์<ref>ผู้จัดการออนไลน์, คอลัมน์เซี่ยงเส้าหลง, [[http://www.manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?NewsID=9490000129777 เรื่องฉาวใกล้ตัวนายกฯ “กัญจนา สปินด์เลอร์” โดนแฉพฤติกรรม “ไม่เป็นหญิงไทย” !!]], 18 ตุลาคม 2549</ref>
 
สมเด็จพระพุฒาจารย์ ได้ปฏิบัติหน้าที่ประธานคณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช ตามปกติในช่วงปลายปี พ.ศ. 2549 และต้นปี พ.ศ. 2550 เช่น เป็นประธานสังคายนาพระธรรมวินัยตรวจชำระ[[พระไตรปิฎก]] เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวโรกาส[[พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม พุทธศักราช 2550]] (ครั้งหลังสุดที่เคยมีการชำระพระไตรปิฎก คือ เมื่อประมาณเกือบประมา 2030 ปีที่ผ่านมา เมื่อครั้ง[[พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธันวาคม พุทธศักราช 2530|มหามงคลดิถีที่มีพระชนมพรรษาจะบรรจบครบ 5 รอบนักษัตร ในวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2530]])<ref>ไทยรัฐ, [http://www.bpct.org/index.php?option=com_content&task=view&id=469&Itemid=0 ชำระพระไตรปิฎกถวาย “ในหลวง”], 30 มกราคม พ.ศ. 2550</ref>
 
== ผลงานประพันธ์ ==