ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มหาวิทยาลัยนเรศวร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BeckNoDa (คุย | ส่วนร่วม)
ย้ายภาพให้ตรงหัวข้อ
บรรทัด 39:
ต่อมา เมื่อวิทยาลัยวิชาการศึกษาประสานมิตรได้ยกฐานะขึ้นเป็น[[มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ]] เมื่อวันที่ [[28 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2517]] แล้ว วิทยาลัยวิชาการศึกษาพิษณุโลกจึงได้ยกฐานะขึ้นเป็นวิทยาเขตหนึ่งของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยมีวิทยาเขตประสานมิตรเป็นศูนย์กลางการบริหารของมหาวิทยาลัยเช่นเดียวกับวิทยาลัยวิชาการการศึกษาอื่น ๆ อีก 8 แห่ง การจัดการเรียนการสอนในสมัยนั้นเปิดสอนเพียง 5 [[คณะวิชา|คณะ]] คือ [[คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร|คณะศึกษาศาสตร์]] [[คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร|คณะมนุษยศาสตร์]] [[คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร|คณะวิทยาศาสตร์]] [[คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร|คณะสังคมศาสตร์]] และ[[บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร|บัณฑิตวิทยาลัย]]<ref name="ประวัติมหาวิทยาลัยนเรศวร"/> โดยสถานที่ตั้งของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตพิษณุโลกยังคงใช้สถานที่เดิมของวิทยาลัยวิชาการศึกษาพิษณุโลก
 
[[ไฟล์:Naresuan_University.jpg|325px|thumb|left|มหาวิทยาลัยนเรศวร]]
จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 4 ([[พ.ศ. 2520]] - [[พ.ศ. 2524]]) ที่กำหนดให้[[จังหวัดพิษณุโลก]] เป็นเมืองศูนย์กลางและเมืองหลักของภาคเหนือตอนล่าง ทางวิทยาเขตจึงขออนุญาต[[กระทรวงมหาดไทย]] ในการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อประโยชน์ทางการศึกษา และรองรับการขยายตัวของมหาวิทยาลัย ซึ่งได้รับอนุญาตในปี [[พ.ศ. 2527]] โดยเป็นช่วงเดียวกับที่ทาง[[ทบวงมหาวิทยาลัย]]ในขณะนั้นประกาศโครงการจัดตั้งมหาวิทยาลัยแห่งใหม่ของรัฐในส่วนภูมิภาคอีก 5 แห่ง โดยที่ดินที่ได้รับการจัดสรรใหม่นี้อยู่บริเวณทุ่งหนองอ้อ – ปากคลองจิก ตำบลท่าโพธิ์ [[อำเภอเมืองพิษณุโลก]] [[จังหวัดพิษณุโลก]] ซึ่งเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยในปัจจุบัน
 
เส้น 209 ⟶ 208:
มหาวิทยาลัยนเรศวรได้กำหนดวิธีการรับบุคคลเข้าศึกษาในระดับปริญญาตรีในระบบต่าง ๆ ดังต่อไปนี้<ref name="คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีการศึกษา 2551">คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีการศึกษา 2551</ref>
 
[[ไฟล์:Nupromation.jpg|300px|thumb|right|ป้ายมหาวิทยาลัยนเรศวร]]
* '''ระบบ Admission กลาง''' โดยผู้ที่จะได้รับการคัดเลือกต้องผ่านกระบวนการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน (O-Net) ความถนัดทั่วไป (GAT) และ ความถนัดทางวิชาชีพและวิชาการ (PAT) [ตั้งแต่ปีพุทธศักราช 2553 เป็นต้นไป] โดยจะนำผลการทดสอบดังกล่าวมาเลือกคณะและสาขาวิชาต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยได้ตามความต้องการโดยผ่านทางการคัดเลือกของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
เส้น 254 ⟶ 252:
 
==== มหาวิทยาลัยนเรศวร ส่วนหนองอ้อ ====
[[ไฟล์:Birdeye_NUNupromation.jpg|300px|thumb|right|350px|ภาพถ่ายทางอากาศของป้ายมหาวิทยาลัยนเรศวร]]
{{multiple image
หรือที่เรียกว่า "มน.นอก" ซึ่งเป็นที่ตั้งปัจจุบันของมหาวิทยาลัย มีพื้นที่ประมาณ 1,300 ไร่ ตั้งอยู่ห่างจากตัวเมืองพิษณุโลกไปทางใต้ประมาณ 10 กม. โดยตั้งอยู่ ณ เลขที่ 99 หมู่ 9 [[ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 117|ถนนพิษณุโลก-นครสวรรค์]] ตำบลท่าโพธิ์ [[อำเภอเมืองพิษณุโลก]] [[จังหวัดพิษณุโลก]] แต่เดิมนั้นที่ดินบริเวณนี้เป็นที่ดินสาธารณะโดยชาวบ้านเรียกว่า "ทุ่งหนองอ้อ - ปากคลองจิก" เนื่องจากเคยเป็นหนองน้ำขนาดใหญ่เต็มไปด้วยต้นอ้อ และมีต้นจิกปกคลุมไปทั่ว ต่อมาในปี [[พ.ศ. 2527]] ทางมหาวิทยาลัยได้เข้าใช้พื้นที่และทำการปรับรูปที่ดินและถมหนองน้ำต่าง ๆ ซึ่งการก่อสร้างอาคารต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยนั้นอาศัยแผนแม่บท (Master Plan) ที่จัดทำขึ้นโดย[[สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง]] ในปี [[พ.ศ. 2527]]<ref name="ประวัติมหาวิทยาลัยนเรศวร"/>
*| '''[[โรงพยาบาลfooter = ภาพถ่ายทางอากาศของมหาวิทยาลัยนเรศวร]]'''
| align = right
| direction = vertical
| image1 = Naresuan_University.jpg
| width1 = 300
| image2 = Birdeye_NU.jpg
| width2 = 300
}}
 
หรือที่เรียกว่า "มน.นอก" ซึ่งเป็นที่ตั้งปัจจุบันของมหาวิทยาลัย มีพื้นที่ประมาณ 1,300 ไร่ ตั้งอยู่ห่างจาก[[เทศบาลนครพิษณุโลก|ตัวเมืองพิษณุโลก]]ไปทางใต้ประมาณ 10 กม.กิโลเมตร โดยตั้งอยู่ ณ เลขที่ 99 หมู่ 9 [[ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 117|ถนนพิษณุโลก-นครสวรรค์]] ตำบลท่าโพธิ์ [[อำเภอเมืองพิษณุโลก]] [[จังหวัดพิษณุโลก]] แต่เดิมนั้นที่ดินบริเวณนี้เป็นที่ดินสาธารณะโดยชาวบ้านเรียกว่า "ทุ่งหนองอ้อ - ปากคลองจิก" เนื่องจากเคยเป็นหนองน้ำขนาดใหญ่เต็มไปด้วยต้นอ้อ และมีต้นจิกปกคลุมไปทั่ว ต่อมาในปี [[พ.ศ. 2527]] ทางมหาวิทยาลัยได้เข้าใช้พื้นที่และทำการปรับรูปที่ดินและถมหนองน้ำต่าง ๆ ซึ่งการก่อสร้างอาคารต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยนั้นอาศัยแผนแม่บท (Master Plan) ที่จัดทำขึ้นโดย[[สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง]] ในปี [[พ.ศ. 2527]]<ref name="ประวัติมหาวิทยาลัยนเรศวร"/>
 
การก่อสร้างอาคารของแต่ละคณะและแต่ละหน่วยงานนั้นคำนึงถึงกลุ่มสาขาวิชาเป็นหลัก โดยมีถนนนเรศวร และถนนเอกาทศรถเป็นถนนสายหลักล้อมรอบมหาวิทยาลัย เชื่อมกันด้วยถนนสุพรรณกัลยา นอกจากนี้มีถนนเชื่อมต่อเข้าสู่อาคารต่าง ๆ และมีประตูเข้า-ออกโดยรอบมหาวิทยาลัย 6 ประตู ซึ่งกลุ่มอาคารในมหาวิทยาลัยแบ่งเป็น 6 กลุ่มดังต่อไปนี้
เส้น 309 ⟶ 317:
อาคารและสถานที่สำคัญภายในมหาวิทยาลัยนเรศวร มีดังนี้
 
* '''อาคารมหาธรรมราชา''' เป็นอาคารกลุ่มอุทยานวิทยาศาสตร์ โดยแบ่งออกเป็น 3 โซน ได้แก่ โซน A ประกอบไปด้วยหน่วยงาน [[บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร]] [[สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยนเรศวร]] [[สถานภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศ และภูมิสารสนเทศ ภาคเหนือตอนล่าง]] [[วิทยาลัยเพื่อการค้นคว้าระดับรากฐาน]] โซน C ประกอบไปด้วยหน่วยงาน [[กองบริหารการวิจัย]] [[อุทยานวิทยาศาสตร์ภาคเหนือตอนล่าง]] และโซน B กำลังก่อสร้าง
* '''อาคารมหาธรรมราชา'''
เป็นอาคารกลุ่มอุทยานวิทยาศาสตร์ โดยแบ่งออกเป็น 3 โซน ได้แก่ โซน A ประกอบไปด้วยหน่วยงาน [[บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร]] [[สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยนเรศวร]] [[สถานภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศ และภูมิสารสนเทศ ภาคเหนือตอนล่าง]] [[วิทยาลัยเพื่อการค้นคว้าระดับรากฐาน]] โซน C ประกอบไปด้วยหน่วยงาน [[กองบริหารการวิจัย]] [[อุทยานวิทยาศาสตร์ภาคเหนือตอนล่าง]] และโซน B กำลังก่อสร้าง
* '''อาคารมิ่งขวัญ '''
เป็นที่ตั้งของหน่วยงานส่วนใหญ่ในสังกัดสำนักงานอธิการบดี แต่ตัวสำนักงานอธิการบดีอยู่ที่อาคารเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา บรมราชินีนาถ ซึ่งเป็นอาคารสำนักงานอธิการบดีหลังใหม่ โดยตั้งอยู่ตรงข้ามกับอาคารมิ่งขวัญ
 
* '''อาคารมิ่งขวัญ''' เป็นที่ตั้งของหน่วยงานส่วนใหญ่ในสังกัดสำนักงานอธิการบดี แต่ตัวสำนักงานอธิการบดีอยู่ที่อาคารเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา บรมราชินีนาถ ซึ่งเป็นอาคารสำนักงานอธิการบดีหลังใหม่ โดยตั้งอยู่ตรงข้ามกับอาคารมิ่งขวัญ
* '''ลานสมเด็จฯ'''
คือลานที่ประดิษฐานพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระนเรศวรมหาราชซึ่งทรงเป็นศูนย์รวมจิตใจของนิสิตและบุคลากรทั้งมหาวิทยาลัย
 
* '''ลานสมเด็จฯ''' คือลานที่ประดิษฐานพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระนเรศวรมหาราชซึ่งทรงเป็นศูนย์รวมจิตใจของนิสิตและบุคลากรทั้งมหาวิทยาลัย
* '''หอพระเทพรัตน์'''
หอประดิษฐานพระพุทธรูป ภปร. ซึ่งเป็นพระพุทธรูปประจำมหาวิทยาลัย โดยได้รับพระราชานุญาตให้เป็นศิลปสถานเฉลิมพระเกียรติ[[สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]] รวมทั้งโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อ "หอพระเทพรัตน์" ซึ่งรูปแบบของหอพระเทพรัตน์นี้ออกแบบโดย [[วนิดา พึ่งสุนทร|อาจารย์วนิดา พึ่งสุนทร]] [[ศิลปินแห่งชาติ]] โดยมีเอกลักษณ์ให้สะท้อนรูปลักษณะศิลปสถานเมืองพิษณุโลก ซึ่งมีลักษณะร่วมกันของสถาปัตยกรรม[[สุโขทัย]] และ[[กรุงศรีอยุธยา]] การจัดวางอาคารนั้นอยู่กลางสระน้ำระหว่างลานสมเด็จฯ สำนักงานอธิการบดี และโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร โดยมีสะพานเชื่อมต่อกับลานสมเด็จฯ และถนนหน้าโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร<ref>วารสาร ม.นเรศวรสัมพันธ์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 88 เดือนกรกฎาคม 2551</ref>
[[ไฟล์:Debraratana Chapel.JPG|300px|thumb|right|หอพระเทพรัตน์]]
 
*[[ไฟล์:Debraratana '''Chapel.JPG|250px|thumb|right|หอพระเทพรัตน์''' ]]
* '''โดม'''
* '''หอพระเทพรัตน์''' หอประดิษฐานพระพุทธรูป ภปร. ซึ่งเป็นพระพุทธรูปประจำมหาวิทยาลัย โดยได้รับพระราชานุญาตให้เป็นศิลปสถานเฉลิมพระเกียรติ[[สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]] รวมทั้งโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อ "หอพระเทพรัตน์" ซึ่งรูปแบบของหอพระเทพรัตน์นี้ออกแบบโดย [[วนิดา พึ่งสุนทร|อาจารย์วนิดา พึ่งสุนทร]] [[ศิลปินแห่งชาติ]] โดยมีเอกลักษณ์ให้สะท้อนรูปลักษณะศิลปสถานเมืองพิษณุโลก ซึ่งมีลักษณะร่วมกันของสถาปัตยกรรม[[สุโขทัย]] และ[[กรุงศรีอยุธยา]] การจัดวางอาคารนั้นอยู่กลางสระน้ำระหว่างลานสมเด็จฯ สำนักงานอธิการบดี และโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร โดยมีสะพานเชื่อมต่อกับลานสมเด็จฯ และถนนหน้าโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร<ref>วารสาร ม.นเรศวรสัมพันธ์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 88 เดือนกรกฎาคม 2551</ref>
เป็นชื่อเรียกของอาคารอเนกประสงค์โดยมีหลังคาคล้ายโดม ซึ่งภายในเป็นห้องอเนกประสงค์และลานกีฬาในร่มสำหรับจัดกิจกรรมต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย นอกจากนี้อาคารอเนกประสงค์ยังเป็นที่ตั้งของห้องพระราชทานปริญญาบัตร พิพิธภัณฑ์ผ้า กองกิจการนิสิต รวมทั้งชมรมต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยด้วย
 
[[ไฟล์:Dome.JPG|300250px|thumb|อาคารอเนกประสงค์ (โดม)]]
* '''[[พิพิธภัณฑ์ผ้า]]'''
* '''โดม''' เป็นชื่อเรียกของอาคารอเนกประสงค์โดยมีหลังคาคล้ายโดม ซึ่งภายในเป็นห้องอเนกประสงค์และลานกีฬาในร่มสำหรับจัดกิจกรรมต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย นอกจากนี้อาคารอเนกประสงค์ยังเป็นที่ตั้งของห้องพระราชทานปริญญาบัตร พิพิธภัณฑ์ผ้า กองกิจการนิสิต รวมทั้งชมรมต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยด้วย
โครงการพิพิธภัณฑ์ผ้า มหาวิทยาลัยนเรศวรจัดเป็นสถานที่ท่องเที่ยวอีกแห่งหนึ่งของ[[จังหวัดพิษณุโลก]]<ref>[http://www.thaitextilemuseum.com/Thai/A_2/A_2_1_/a_2_1_.html ประวัติพิพิธภัณฑ์ผ้า มหาวิทยาลัยนเรศวร]</ref> โดยประกอบด้วย 2 หน่วยงานคือ
:''พิพิธภัณฑ์ผ้า''
ตั้งอยู่ชั้นล่างของอาคารอเนกประสงค์ โดยเป็นพิพิธภัณฑ์ที่จัดแสดงเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของผ้าจากชนชาติต่าง ๆ รวมทั้งภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องกับเครื่องนุ่งห่มและการแต่งกาย นอกจากนี้ยังมีการจัดอบรมและนิทรรศการเกี่ยวกับเครื่องแต่งกายและของประดับเป็นระยะ ๆ ตลอดทั้งปี และมีการจำหน่ายผลิตภัณฑ์จากผ้าชนิดต่าง ๆ และของที่ระลึกของมหาวิทยาลัยอีกด้วย
:''พิพิธภัณฑ์ชีวิต''
ประกอบด้วยกลุ่มอาคารทรงไทยที่อยู่ข้าง[[สถานีวิทยุกระจายเสียงมหาวิทยาลัยนเรศวร]] ซึ่งภายในจะให้ความรู้ในด้านความเป็นมาของผ้าและการทอผ้า
 
* '''[[พิพิธภัณฑ์ผ้า]]''' โครงการพิพิธภัณฑ์ผ้า มหาวิทยาลัยนเรศวรจัดเป็นสถานที่ท่องเที่ยวอีกแห่งหนึ่งของ[[จังหวัดพิษณุโลก]]<ref>[http://www.thaitextilemuseum.com/Thai/A_2/A_2_1_/a_2_1_.html ประวัติพิพิธภัณฑ์ผ้า มหาวิทยาลัยนเรศวร]</ref> โดยประกอบด้วย 2 หน่วยงานคือ
* '''[[โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร]]'''
** ''พิพิธภัณฑ์ผ้า'' ตั้งอยู่ชั้นล่างของอาคารอเนกประสงค์ โดยเป็นพิพิธภัณฑ์ที่จัดแสดงเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของผ้าจากชนชาติต่าง ๆ รวมทั้งภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องกับเครื่องนุ่งห่มและการแต่งกาย นอกจากนี้ยังมีการจัดอบรมและนิทรรศการเกี่ยวกับเครื่องแต่งกายและของประดับเป็นระยะ ๆ ตลอดทั้งปี และมีการจำหน่ายผลิตภัณฑ์จากผ้าชนิดต่าง ๆ และของที่ระลึกของมหาวิทยาลัยอีกด้วย
เป็นโรงพยาบาลของคณะแพทยศาสตร์ โดยเป็นศูนย์การแพทย์ระดับตติยภูมิขั้นสูง (Super tertiary care) ในภูมิภาคภาคเหนือตอนล่าง นอกจากเป็นสถานพยาบาลแล้ว โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวรยังเป็นศูนย์ประชุม ศูนย์การวิจัยและสถานที่ทำการเรียนการสอนนิสิตในกลุ่ม[[วิทยาศาสตร์สุขภาพ]] ซึ่งยังมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีกเช่น ศูนย์วิจัย หรือสถาบันวิจัย
** ''พิพิธภัณฑ์ชีวิต'' ประกอบด้วยกลุ่มอาคารทรงไทยที่อยู่ข้าง[[สถานีวิทยุกระจายเสียงมหาวิทยาลัยนเรศวร]] ซึ่งภายในจะให้ความรู้ในด้านความเป็นมาของผ้าและการทอผ้า
 
* '''[[โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร]]''' เป็นโรงพยาบาลของคณะแพทยศาสตร์ โดยเป็นศูนย์การแพทย์ระดับตติยภูมิขั้นสูง (Super tertiary care) ในภูมิภาคภาคเหนือตอนล่าง นอกจากเป็นสถานพยาบาลแล้ว โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวรยังเป็นศูนย์ประชุม ศูนย์การวิจัยและสถานที่ทำการเรียนการสอนนิสิตในกลุ่ม[[วิทยาศาสตร์สุขภาพ]] ซึ่งยังมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีกเช่น ศูนย์วิจัย หรือสถาบันวิจัย
* '''ตึก CITCOMS'''
เป็นชื่อเรียกของอาคารสถานบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ซึ่งเป็นที่ตั้งของ[[สถานบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร|สถานบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร]] [[สถานภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศภาคเหนือตอนล่าง มหาวิทยาลัยนเรศวร|สถานภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศภาคเหนือตอนล่าง]] [[สถานพัฒนาวิชาการด้านภาษา มหาวิทยาลัยนเรศวร|สถานพัฒนาวิชาการด้านภาษา]]
[[ไฟล์:Dome.JPG|300px|thumb|อาคารอเนกประสงค์ (โดม)]]
 
* '''ตึก CITCOMS''' เป็นชื่อเรียกของอาคารสถานบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ซึ่งเป็นที่ตั้งของ[[สถานบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร|สถานบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร]] [[สถานภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศภาคเหนือตอนล่าง มหาวิทยาลัยนเรศวร|สถานภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศภาคเหนือตอนล่าง]] [[สถานพัฒนาวิชาการด้านภาษา มหาวิทยาลัยนเรศวร|สถานพัฒนาวิชาการด้านภาษา]]
* '''ตึก QS'''
เป็นชื่อเรียกของอาคารเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ตั้งอยู่ด้านหลังอาคารคณะแพทยศาสตร์และคณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ ซึ่งอาคารเฉลิมพระเกียรติฯ ประกอบไปด้วยอาคารเรียนรวมและอาคารโรงละคร นอกจากนี้ สำนักงานกองบริการการศึกษาและสำนักงานไปรษณีย์ยังตั้งอยู่ชั้นล่างของอาคารเรียนรวมอีกด้วย
 
* '''ตึก QS''' เป็นชื่อเรียกของอาคารเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ตั้งอยู่ด้านหลังอาคารคณะแพทยศาสตร์และคณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ ซึ่งอาคารเฉลิมพระเกียรติฯ ประกอบไปด้วยอาคารเรียนรวมและอาคารโรงละคร นอกจากนี้ สำนักงานกองบริการการศึกษาและสำนักงานไปรษณีย์ยังตั้งอยู่ชั้นล่างของอาคารเรียนรวมอีกด้วย
* '''สวนเทเลทับบี้'''
เป็นสวนสาธารณะกลางมหาวิทยาลัยโดยตั้งอยู่ระหว่างอาคารสำนักหอสมุด คณะวิศวกรรมศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์ โดยชื่ออย่างเป็นทางการของสวนนี้คือ ''"กรีน แอเรีย"'' (Green Area) หรือ ''"โอเอซิส"'' (Oasis) จนกระทั่งมีภาพยนตร์สำหรับเด็กเรื่อง ''"เทเลทับบี้"'' เข้ามาฉายในประเทศไทย ซึ่งลักษณะของสวนมีความคล้ายคลึงกับสวนในภาพยนตร์ นิสิตจึงเรียกกันเล่น ๆ ว่าสวนเทเลทับบี้จนติดปาก
 
* '''[[ไฟล์:Teletubby.JPG|250px|thumb|right|สวนเทเลทับบี้''' ]]
* '''สวนพลังงาน'''
* '''สวนเทเลทับบี้''' เป็นสวนสาธารณะกลางมหาวิทยาลัยโดยตั้งอยู่ระหว่างอาคารสำนักหอสมุด คณะวิศวกรรมศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์ โดยชื่ออย่างเป็นทางการของสวนนี้คือ ''"กรีน แอเรีย"'' (Green Area) หรือ ''"โอเอซิส"'' (Oasis) จนกระทั่งมีภาพยนตร์สำหรับเด็กเรื่อง ''"เทเลทับบี้"'' เข้ามาฉายในประเทศไทย ซึ่งลักษณะของสวนมีความคล้ายคลึงกับสวนในภาพยนตร์ นิสิตจึงเรียกกันเล่น ๆ ว่าสวนเทเลทับบี้จนติดปาก
ตั้งอยู่ภายในวิทยาลัยพลังงานทดแทน โดยเป็นสวนตัวอย่างที่เป็นแหล่งสาธิตการใช้งานจริงของระบบ[[พลังงานทดแทน]] เช่น [[พลังงานแสงอาทิตย์]] [[พลังงานลม]] [[พลังงานน้ำ]] [[ชีวมวล]] และมีศูนย์ธุรกิจที่เป็นแหล่งของความร่วมมือกับหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ และเอกชน ในการดำเนินการส่งเสริมธุรกิจทางด้านพลังงานทดแทน<ref>[http://www.sert.nu.ac.th/new/energypark.htm สวนพลังงาน วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร]</ref>
 
* '''สวนพลังงาน''' ตั้งอยู่ภายในวิทยาลัยพลังงานทดแทน โดยเป็นสวนตัวอย่างที่เป็นแหล่งสาธิตการใช้งานจริงของระบบ[[พลังงานทดแทน]] เช่น [[พลังงานแสงอาทิตย์]] [[พลังงานลม]] [[พลังงานน้ำ]] [[ชีวมวล]] และมีศูนย์ธุรกิจที่เป็นแหล่งของความร่วมมือกับหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ และเอกชน ในการดำเนินการส่งเสริมธุรกิจทางด้านพลังงานทดแทน<ref>[http://www.sert.nu.ac.th/new/energypark.htm สวนพลังงาน วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร]</ref>
 
== ชีวิตในมหาวิทยาลัย ==
เส้น 351 ⟶ 348:
 
=== กิจกรรมและประเพณีของมหาวิทยาลัย ===
;* '''รับน้องเฟรชชี่และบีกินนิ่งแคมป์ (Beginning Camp) :''' กิจกรรมรับน้องใหม่ก่อนเปิดเรียนภาคการศึกษาที่ 1 สำหรับนิสิตใหม่ชั้นปีที่ 1 โดยจะจัดขึ้นเป็นเวลา 3 วัน 2 คืน เพื่อให้นิสิตใหม่รู้จักมหาวิทยาลัยมากขึ้นและให้ปรับตัวเข้ากับเพื่อนใหม่ รวมทั้งสร้างความสัมพันธ์ระหว่างน้อง-พี่
[[ไฟล์:Teletubby.JPG|300px|thumb|right|สวนเทเลทับบี้]]
; รับน้องเฟรชชี่และบีกินนิ่งแคมป์ (Beginning Camp) : กิจกรรมรับน้องใหม่ก่อนเปิดเรียนภาคการศึกษาที่ 1 สำหรับนิสิตใหม่ชั้นปีที่ 1 โดยจะจัดขึ้นเป็นเวลา 3 วัน 2 คืน เพื่อให้นิสิตใหม่รู้จักมหาวิทยาลัยมากขึ้นและให้ปรับตัวเข้ากับเพื่อนใหม่ รวมทั้งสร้างความสัมพันธ์ระหว่างน้อง-พี่
 
;* '''กิจกรรมประชุมเชียร์ :''' เป็นกิจกรรมที่จัดขึ้นในช่วง 3 สัปดาห์แรกของการเปิดเรียนภาคการศึกษาที่ 1 เพื่อเป็นการสร้างความสัมพันธ์และความสามัคคีของนิสิตชั้นปีที่ 1 และเป็นการสอนร้องเพลงมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ให้แก่นิสิตชั้นปีที่ 1 ซึ่งภายหลังกิจกรรมประชุมเชียร์แล้ว แต่ละคณะมักจะให้มีการซ้อมการแสดงสแตนเชียร์ต่อเนื่องไปอีก 1 สัปดาห์ ก่อนการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัย โดยกิจกรรมประชุมเชียร์นี้จะจัดขึ้นใน[[ห้องเชียร์]] ของแต่ละคณะ
 
;* '''หนองอ้อเกมส์ :''' กีฬาภายในของมหาวิทยาลัยนเรศวรที่จัดขึ้นเพื่อเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างนิสิตคณะต่าง ๆ ซึ่งนอกจากการแข่งขันกีฬาแล้ว ยังมีจุดที่น่าสนใจที่สุดของงานก็คือ การแสดงสแตนเชียร์ของแต่ละคณะ โดยจะจัดขึ้นในช่วงเดือน[[กรกฎาคม]] ของทุกปี
 
;* '''งานเปิดโลกกิจกรรมและเฟรชชี่ ไนท์ (Freshy Night) :''' กิจกรรมที่ให้นิสิตชั้นปีที่ 1 เลือกเข้าชมรมต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย ส่วนในตอนกลางคืนจะมีการแสดงดนตรี การแสดงของนิสิตแต่ละคณะ และการประกวดดาวและเดือนของมหาวิทยาลัย โดยจัดขึ้น ณ อาคารเอนกประสงค์
 
;* '''"Power Cheer" งานร้องเพลงมหาวิทยาลัย ภาคภูมิใจนเรศวร : ''' เป็นการสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างนิสิตรุ่นพี่และรุ่นน้อง ให้นิสิตใหม่เกิดความรักและภาคภูมิใจในสถาบัน โดยมีกิจกรรมการแสดงละครกลางแจ้ง ประกอบแสง สี เสียง เรื่อง สมเด็จพระนเรศวรมหาราช การแสดงประกอบจินตลีลา จากนั้นเป็นการร่วมกันร้องเพลงมหาวิทยาลัยประกอบการแปรอักษรอันแสดงถึงความสามัคคี และความภาคภูมิใจในมหาวิทยาลัยนเรศวร
 
;* '''งานสัปดาห์วิทยาศาสตร์ :''' จัดขึ้นในช่วงปลายเดือน[[สิงหาคม]] ของทุกปีในคณะต่าง ๆ ในกลุ่ม[[วิทยาศาสตร์]]และ[[เทคโนโลยี]] และกลุ่ม[[วิทยาศาสตร์สุขภาพ]] ภายในงานจะมีนิทรรศการความรู้และกิจกรรมเสริมสร้างความรู้มากมาย
 
;* '''งานลอยกระทง เทิดไท้องค์ราชันย์ มิ่งขวัญนเรศวร :''' งานประเพณีลอยกระทงของมหาวิทยาลัยที่จัดขึ้นทุกปีใน[[วันลอยกระทง]] โดยภายในงานจะมีขบวนแห่กระทงยักษ์ของแต่ละคณะ งานจัดร้านขายของและซุ้มเกมส์ของนิสิตแต่ละคณะ รวมทั้งงานแสดงมหรสพอีกมากมาย
 
* '''งานกีฬาเฮลธ์ไซนซ์ (Health Sciences Games)''' เป็นการแข่งขันกีฬาเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างคณะ ในกลุ่ม[[วิทยาศาสตร์สุขภาพ]] 7 คณะ ได้แก่ คณะแพทยศาสตร์ คณะทันตแพทยศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ คณะสหเวชศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ โดยจะจัดขึ้นในช่วงเดือน[[มกราคม]] ของทุกปี
; งานกีฬาเฮลธ์ไซนซ์ (Health Sciences Games) :
เป็นการแข่งขันกีฬาเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างคณะ ในกลุ่ม[[วิทยาศาสตร์สุขภาพ]] 7 คณะ ได้แก่ คณะแพทยศาสตร์ คณะทันตแพทยศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ คณะสหเวชศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ โดยจะจัดขึ้นในช่วงเดือน[[มกราคม]] ของทุกปี
 
;* '''เอ็นยู วอยซ์ มิวสิก คอนเทสต์ (NU. Voice Music Contest)''' :งานประกวดการขับร้อง[[เพลงไทยสากล]]และเพลงสากลประจำปีของมหาวิทยาลัย โดยจะจัดขึ้นในช่วงเดือน[[ธันวาคม]]หรือ[[มกราคม]] ของทุกปี
งานประกวดการขับร้อง[[เพลงไทยสากล]]และเพลงสากลประจำปีของมหาวิทยาลัย โดยจะจัดขึ้นในช่วงเดือน[[ธันวาคม]]หรือ[[มกราคม]] ของทุกปี
 
;* '''วงดนตรีลูกทุ่งมหาวิทยาลัยนเรศวร จ.พิษณุโลก :''' การแสดงด้านการร้อง ดนตรี และแด้นเซอร์ ระดับนักศึกษา จากนักศึกษาระดับปริญญาตรีคณะต่าง ๆ คัดเลือกนักศึกษาจากผู้มีความสามารถในระดับมัธยมศึกษาโดยการพิจารณาด้านความสามารถพิเศษ เข้าร่วมวงดนตรีลูกทุ่งมหาวิทยาลัยนเรศวร โดยวงดนตรีลูกทุ่งมหาวิทยาลัยนเรศวรได้รับงานแสดงจากภาครัฐและภาคเอกชน หรือการแข่งขันระดับอุดมศึกษาเวทีต่าง ๆ
 
นอกจากนี้ ยังมีกิจกรรมภายในของแต่ละคณะ และกิจกรรมระหว่างคณะของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ที่มหาวิทยาลัยนเรศวรได้เข้าร่วม ซึ่งส่วนใหญ่แล้วจะเป็นการแข่งขันกีฬาระหว่างมหาวิทยาลัย
เส้น 454 ⟶ 448:
 
== อ้างอิง ==
 
 
<div style="overflow:scroll;height:300px;">
{{รายการอ้างอิง|2}}
เส้น 476 ⟶ 468:
 
{{มหาวิทยาลัยนเรศวร}}
{{อดีตวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ}}
{{อธิการบดีมหาวิทยาลัยนเรศวร}}
{{สถาบันอุดมศึกษา}}
 
[[หมวดหมู่:มหาวิทยาลัยนเรศวร| ]]