ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาคตะวันออก (ประเทศไทย)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
→‎การแบ่งเขตการปกครอง: แก้ข้อมูลให้ตรงกับข้อมูลวิกิ
BeckNoDa (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 60:
'''ภาคตะวันออก''' เป็นภูมิภาคย่อยทางตะวันออกของ[[ประเทศไทย]] เดิมถือเป็นส่วนหนึ่งของ[[ภาคกลาง]] อยู่ติดชายฝั่ง[[อ่าวไทย]]ด้านตะวันออก นับเป็นอีกภูมิภาคหนึ่งที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ เนื่องจากเป็นแหล่งอุตสาหกรรม [[ผลไม้]] และ[[อัญมณี]]ของประเทศ
 
== ภูมิศาสตร์ ==
=== อาณาเขตติดต่อ ===
พื้นที่ของภาคตะวันออกมีขอบเขตจรดภูมิภาคต่างๆ ดังนี้
* '''ทิศเหนือ''' จรด[[ภาคกลาง]]และ[[ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ]]
เส้น 66 ⟶ 67:
* '''ทิศใต้''' จรด[[อ่าวไทย]]
* '''ทิศตะวันตก''' จรดอ่าวไทย
 
=== ลักษณะภูมิประเทศ ===
ภาคตะวันออกมีลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบสูงสลับกับภูเขาลูกเตี้ยมากๆ มีชายฝั่งทะเลที่เรียบยาวและโค้งเว้า มี[[ทิวเขาจันทบุรี]]อยู่ทางด้านชายฝั่งทะเลตะวันออก ทอดตัวไปทางด้านทิศตะวันตก จรดกับ[[ทิวเขาบรรทัด]] ซึ่งเป็นทิวเขาที่เป็นเส้นแบ่งเขตระหว่างประเทศไทยกับประเทศกัมพูชา และมีแม่น้ำสายสำคัญอยู่หลายสาย ที่ไหลลงสู่อ่าวไทยได้แก่ [[แม่น้ำระยอง]] [[แม่น้ำจันทบุรี]] [[แม่น้ำประแสร์]] [[แม่น้ำตราด]] [[แม่น้ำบางปะกง]]
 
== การแบ่งเขตการปกครอง ==
[[ไฟล์:Thailand East eco.png|200px|thumb|right|แผนที่ภาคตะวันออก กำหนดตามสภาพเศรษฐกิจและสังคม โดยคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ]]
 
การแบ่ง[[จังหวัด]]เป็นภูมิภาคด้วยระบบ 6 ภาค เป็นการแบ่งที่เป็นทางการโดยคณะกรรมการภูมิศาสตร์แห่งชาติ และประกาศใช้ในโดย[[ราชบัณฑิตยสภา]]<ref name="การศึกษาทางภูมิศาสตร์แบ่งจังหวัด">[http://www.royin.go.th/th/knowledge/detail.php?ID=1378 การแบ่งภูมิภาคในประเทศไทย]</ref> โดยภาคตะวันออกของระบบ 6 ภาคนี้ ประกอบไปด้วยเขตการปกครอง 7 จังหวัด รวมถึงดังตารางข้างล่าง นอกจากนี้ ยังมีการจัดแบ่งภูมิภาคตาม[[กรุงเทพมหานครคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ]] (ซึ่งเป็นเขตการปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษที่กำหนดให้ภาคตะวันออกมีฐานะเทียบเท่ากับทั้งหมด 9 จังหวัด)<ref โดยมีพื้นที่ทางเหนือไปจนสุดเขต[[name="การแบ่งจังหวัดสุโขทัย]]และ" /> ประกอบด้วย 7 จังหวัดข้างต้น รวมกับ[[จังหวัดพิษณุโลกนครนายก]] และทางใต้ลงไปสุดที่[[อ่าวไทยจังหวัดสมุทรปราการ]] ยกเว้นจังหวัดที่ติดกับประเทศกัมพูชา ซึ่งมีลักษณะเป็นภูเขา และยกเว้นจังหวัดทางภาคกลาง
 
นอกจากนี้ ยังมีหลายหน่วยงานที่กำหนดขอบเขตของภาคกลางแตกต่างกันออกไป บางครั้งก็มีการระบุว่าพื้นที่ภาคตะวันออกเป็นภูมิภาคที่แยกต่างหากจากภาคกลาง หรือระบุว่าภาคกลางไม่มีจังหวัดนครนายก แต่ไปอยู่ภาคตะวันออก เช่น [[คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ]]กำหนดให้ภาคกลางประกอบด้วย 9 จังหวัด ได้แก่ [[กรุงเทพมหานคร]] [[จังหวัดชัยนาท]] [[จังหวัดนนทบุรี|นนทบุรี]] [[จังหวัดปทุมธานี|ปทุมธานี]] [[จังหวัดพระนครศรีอยุธยา|พระนครศรีอยุธยา]] [[จังหวัดลพบุรี|ลพบุรี]] [[จังหวัดสระบุรี|สระบุรี]] [[จังหวัดสิงห์บุรี|สิงห์บุรี]] และ[[จังหวัดอ่างทอง]] เพราะภูมิภาคเป็นการปกครองที่ไม่มีผู้บริหาร ไม่มีเขตที่ชัดเจน การแบ่งจังหวัดเป็นภูมิภาคจึงเป็นเพียงการจัดกลุ่มทางภูมิศาสตร์และสถิติเท่านั้น อย่างไรก็ตาม จังหวัดในภาคกลางตามการแบ่งที่เป็นทางการ ประกอบไปด้วยจังหวัดต่าง ๆ 21 จังหวัด และกรุงเทพมหานคร ดังต่อไปนี้
 
{| class="wikitable sortable" width="70%"
เส้น 126 ⟶ 128:
|}
 
== สถิติประชากร ==
== การแบ่งพื้นที่ ==
การแบ่งภูมิภาคตาม[[ราชบัณฑิตยสถาน]] แบ่งภาคตะวันออกประกอบไปด้วย 7 จังหวัดอย่างเป็นทางการ <ref name="การแบ่งจังหวัด">[http://www.royin.go.th/th/knowledge/detail.php?ID=1378 การแบ่งภูมิภาคในประเทศไทย]</ref>
 
* [[จังหวัดจันทบุรี]]
* [[จังหวัดชลบุรี]]
* [[จังหวัดตราด]]
* [[จังหวัดระยอง]]
* [[จังหวัดฉะเชิงเทรา]]
* [[จังหวัดปราจีนบุรี]]
* [[จังหวัดสระแก้ว]]
 
การจัดแบ่งภูมิภาคตาม[[คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ]] แบ่งภาคตะวันออกประกอบด้วย 9 [[จังหวัด]]<ref name="การแบ่งจังหวัด" /> ได้แก่
 
* [[จังหวัดจันทบุรี]]
* [[จังหวัดชลบุรี]]
* [[จังหวัดตราด]]
* [[จังหวัดระยอง]]
* [[จังหวัดฉะเชิงเทรา]]
* [[จังหวัดปราจีนบุรี]]
* [[จังหวัดสระแก้ว]]
* [[จังหวัดนครนายก]]
* [[จังหวัดสมุทรปราการ]]
 
== สถิติประชากรของจังหวัดในภาคตะวันออก ตามการแบ่งเขตปกครองของราชบัณฑิตยสถาน ==
{| class="wikitable" border="1" style="font-size:98%;"
! อันดับ !! จังหวัด !! จำนวน (คน) <br> <small> (31 ธันวาคม 2558)<ref>กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: [http://stat.bora.dopa.go.th/stat/y_stat58.htm http://stat.bora.dopa.go.th/stat/y_stat58.htm] 2558. สืบค้น 16 กุมภาพันธ์ 2559.</ref> !! จำนวน (คน) <br> <small> (31 ธันวาคม 2557)<ref>กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: [http://stat.bora.dopa.go.th/stat/y_stat57.html http://stat.bora.dopa.go.th/stat/y_stat57.html] 2558. สืบค้น 1 มีนาคม 2558.</ref> !! จำนวน (คน) <br> <small> (31 ธันวาคม 2556)<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2557/E/041/18.PDF ประกาศสำนักทะเบียนกลาง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเนกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่างๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๖], เล่ม ๑๓๑, ตอน ๔๑ ง , ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๗, หน้า ๑</ref> !! จำนวน (คน) <br> <small> (31 ธันวาคม 2555) </small><ref>กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: [http://stat.bora.dopa.go.th/stat/y_stat55.html http://stat.bora.dopa.go.th/stat/y_stat55.html] 2555. สืบค้น 3 เมษายน 2556.</ref> !! จำนวน (คน) <br> <small> (31 ธันวาคม 2554) </small> <ref>กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: [http://stat.bora.dopa.go.th/stat/y_stat54.html http://stat.bora.dopa.go.th/stat/y_stat54.html] 2555. สืบค้น 6 เมษายน 2555.</ref> !! จำนวน (คน) <br><small> (31 ธันวาคม 2553) </small>''' <ref>กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: [http://203.113.86.149/stat/pk/pk53/pk_53.pdf] 2553. สืบค้น 22 มีนาคม 2554.</ref>'''
เส้น 169 ⟶ 148:
|align=center style="background:#cccccc;"| — ||style="background:#cccccc;"| รวม || align=right style="background:#cccccc;" | 4,644,529 || align=right style="background:#cccccc;" | 4,574,877 || align=right style="background:#cccccc;" | 4,517,174 || align=right style="background:#cccccc;" | 4,465,777 || align=right style="background:#cccccc;" | 4,409,878 || align=right style="background:#cccccc;" |4,362,837
|}
 
== ลักษณะภูมิประเทศ ==
ภาคตะวันออกมีลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบสูงสลับกับภูเขาลูกเตี้ยมากๆ มีชายฝั่งทะเลที่เรียบยาวและโค้งเว้า มี[[ทิวเขาจันทบุรี]]อยู่ทางด้านชายฝั่งทะเลตะวันออก ทอดตัวไปทางด้านทิศตะวันตก จรดกับ[[ทิวเขาบรรทัด]] ซึ่งเป็นทิวเขาที่เป็นเส้นแบ่งเขตระหว่างประเทศไทยกับประเทศกัมพูชา และมีแม่น้ำสายสำคัญอยู่หลายสาย ที่ไหลลงสู่อ่าวไทยได้แก่ [[แม่น้ำระยอง]] [[แม่น้ำจันทบุรี]] [[แม่น้ำประแสร์]] [[แม่น้ำตราด]] [[แม่น้ำบางปะกง]]
 
== อ้างอิง ==